Page 143 - Chumphon
P. 143

3-71





                  ทรัพยากรแรที่สำคัญทางดานเศรษฐกิจ คือ หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง และทรายแกวทรัพยากรแร

                  ดังกลาว สามารถจำแนกตามลักษณะการใชประโยชนได 2 กลุมคือ (กรมทรัพยากรธรณี, 2550ข)
                           1) กลุมแรเพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ ใชเปนวัตถุดิบ
                  สำหรับงานกอสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานตางๆ เชน ถนน เขื่อนชลประทาน ฝายกั้นน้ำ เปนตน แรใน

                  กลุมนี้ไดแก หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง หินปูนที่จำแนกไมได
                  เนื่องจากไมมีขอมูลวิเคราะห และทรายกอสราง

                           2) กลุมแรเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ใชเปนวัตถุดิบขั้นพื้นฐานของกระบวนการ
                  ผลิตตางๆ สำหรับอุตสาหกรรมตอเนื่องหลายสาขา เชน อุตสาหกรรมอาหารและยาอุตสาหกรรม
                  กระดาษ อุตสาหกรรมสีพลาสติก อุตสาหกรรมหลอโลหะ อุตสาหกรรมเซรามิกและแกว แรที่สำคัญใน

                  กลุมนี้ไดแก ทองคำ แรดีบุก หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ และทรายแกว

                           3.4.4.1 กลุมแรเพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ
                                  กลุมแรเพื่อการพัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานและโครงการขนาดใหญของรัฐ
                  ประกอบดวยแรที่สำคัญ คือ หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนตหินปูนเพื่ออุตสาหกรรมกอสราง หินปูนที่
                  จำแนกประเภทไมไดและทรายกอสราง

                                  1) หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนตโดยทั่วไปหินปูนมีสวนประกอบทางเคมีสวนใหญ
                  เปนแคลเซียมคารบอเนต (CaCO 3 )ในรูปของแรแคลไซต (calcite) เกิดจากการตกตะกอนทางเคมีจาก
                  น้ำทะเลในสภาวะแวดลอมบริเวณลานพื้นที่ราบของทะเลตื้น (platform) ที่เอียงเทเล็กนอย ตั้งแตสวนที่
                  เปนทะเลเปดถึงบริเวณที่เปนทะเลสาบ (lagoon) ซึ่งมีการรุกเขาและถดถอยของน้ำทะเลอยูเสมอ โดย

                  จะมีสิ่งเจือปนที่เกิดขึ้นในขณะที่มีการตกตะกอนอันประกอบดวย โคลน ทราย แรเหล็กออกไซดแรซิลิเกต
                  ธาตุอะลูมิเนียม ธาตุแมกนีเซียม ธาตุแมงกานีส สารประกอบอินทรีย ฯลฯ ซึ่งเกิดปะปนในปริมาณที่
                  แตกตางกันออกไปตามสภาวะแวดลอมขณะที่มีีการตกตะกอน หินปูนที่สามารถนำมาใชในการผลิต

                  ปูนซีเมนตไดจะตองมีองคประกอบ ดังนี้
                                  - ปริมาณแคลเซียมออกไซด (CaO) มากกวารอยละ 48 หรือ แคลเซียมคารบอเนต
                  (CaCO3) มากกวารอยละ 87
                                  - ปริมาณแมกนีเซียมออกไซด (MgO) นอยกวารอยละ 3
                                  - ปริมาณซิลิกาออกไซด (SiO2) นอยกวารอยละ 5

                                  - ปริมาณ P2O5 และ SO3 นอยกวารอยละ 1
                                  - ปริมาณ Total alkaline นอยกวารอยละ 0.6

                                  นอกจากนี้ยังตองคำนึงถึงมลทินอื่นๆ ที่อยูในเนื้อหินปูน ซึ่งจะกระทบตอคุณภาพของ
                  ปูนซีเมนตในกระบวนการผลิต ไดแก แมกนีเซียม ฟลูออรีน ฟอสฟอรัส ตะกั่ว สังกะสีเหล็ก แมงกานีส
                  อัลคาไลนและซัลไฟด เปนตน สำหรับมาตรฐานของหินปูนที่ใชในงานซีเมนตในประเทศไทย

                  จะมีองคประกอบ ดังนี้
                                  - ปริมาณ CaO รอยละ 53.23 - 55.47 หรือ CaCO3 รอยละ 95 - 99
                                  - ปริมาณ SiO2 มากกวารอยละ 1.0
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148