Page 141 - Chumphon
P. 141

3-69





                  ระบบนิเวศ โดยทั่วไปแนวปะการัง จะเปนบริเวณที่ใหความรูสึกงดงามและแปลกตาแกผูพบเห็น การดำน้ำเพื่อ

                  ดูสัตวทะเลและปะการังตางๆ จึงเปนกิจกรรมที่นักทองเที่ยวใหความสนใจนอกจากประโยชนในแงการเปน
                  ระบบนิเวศและแหลงนันทนาการที่สำคัญแลว แนวปะการังยังถือไดวาเปนแหลงรวมพันธุกรรมวัสดุภัณฑ
                  เคมีภัณฑ และเวชภัณฑ ที่ใหญที่สุดอีกดวย แนวปะการังในอุทยานแหงชาติหมูเกาะชุมพร พบไดตามเกาะ

                  ตางๆ แนวปะการังเกาะตัวไดดีทางทิศตะวันตก และทิศใตของตัวเกาะเนื่องจากเปนดานที่กำบังคลื่นลมจาก
                  มรสุตะวันออกเฉียงเหนือ มีลักษณะทั่วไปเปนแนวปะการังริมฝง (Fringing reef) กอตัวไดตั้งแตความลึก 1-8
                  เมตร ความกวางของแนวประมาณ 35-500 เมตร ปะการังที่พบมักเปนปะการังแข็ง เชน ปะการังเขากวาง
                  (Acropora sp.) ปะการังโขด (Porites lutea)

                             โดยดานนอกของแนวที่เปนแนวลาดชัน (Reef slope) สูพื้นทะเล มักพบปะการังโขดที่เปนกอน
                  ขนาดใหญสวนทางดานทิศตะวันออกของเกาะที่ไดรับอิทธิพลของคลื่นมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พบปะการัง
                  ที่กอตัวบนโขดหินมักพบเปนพวกปะการังออน (Soft coral) ปะการังเคลือบ (Encrusting coral) ปะการังดำ
                  (Black coral) แสทะเล (Sea whip) และกัลปงหา (Sea Fan) เปนตน

                             ลักษณะเดนของแนวปะการังบริเวณเกาะตางๆ ในอุทยานแหงชาติหมูเกาะชุมพร คือ
                  องคประกอบสิ่งมีชีวิต ในแนวปะการัง ซึ่งมีลักษณะแตกตางไปจากบริเวณอื่น ๆ ดังนี้
                             - เปนบริเวณที่พบปะการังดำ (Black coral) ซึ่งเปนสัตวในกลุมของกัลปงหามากที่สุดใน
                  ประเทศไทย

                             - พบสัตวในกลุมของปะการังออน
                             - (Soft coral) ถวยทะเล (Corallimorph) พรมทะเล (Zooanthid) และดอกไมทะเล (Sea
                  anemone) ขนาดใหญมากที่สุดในอาวไทย
                             - มีปริมาณและความหลากหลายของชนิดพันธุปลามากที่สุดในอาวไทย

                             - มีปริมาณและความหลากหลายของชนิดพันธุหอยหมาก เปนจุดสำรวจที่นาสนใจมากที่สุดใน
                  อาวไทย
                             ลักษณะเดนอีกประการหนึ่งคือ ลักษณะทางธรณีวิทยา บริเวณรอบเกาะตาง ๆ เชน เกาะงาม
                  นอย เกาะงามใหญ มักปรากฏเปนโพรงถ้ำใตทะเล บางแหงมีความยาวมากกวา 15 เมตร และกวางกวา 10

                  เมตร ภายในถ้ำมักพบฟองน้ำ ปะการัง และสัตวทะเลหลายชนิด อาศัยอยูภายใน นอกจากนี้บริเวณเกาะงาม
                  ใหญและเกาะงามนอย ยังพบเห็นฉลามวาฬ (Whale shark) ซึ่งถือเปน ปลาที่มีขนาดใหญที่สุดในโลกได
                  บอยครั้ง แนวปะการังน้ำตื้น เหมาะกับการดำชมแบบผิวน้ำ (Snorkeling) พบไดในบริเวณเกาะมาตรา เกาะ

                  ทองหลาง เกาะลังกาจิว เกาะละวะ เกาะแกลบ และเกาะอีแรด เปนตน สวนบริเวณที่เปนแนวปะการังน้ำลึก
                  จะเหมาะกับการดำน้ำลึกโดยใชถังอากาศ (SCUBA) พบในบริเวณเกาะงามใหญ เกาะงามนอย
                  และเกาะหลักงาม เปนตน (สำนักอุทยานแหงชาติ, 2565)

                           7) น้ำพุรอน
                             บอน้ำพุรอนถ้ำเขาพลู ซึ่งเปนพื้นที่ปาชุมชนที่รมรื่นเปดเปนแหลงทองเที่ยวและใหบริการอาบ

                  น้ำแรรอนที่ไดรับการดูแลรักษาเปนอยางดี ตั้งอยูหมูที่ 2 ตำบลสวนแตง อำเภอละแม จังหวัดชุมพร จากทาง
                  หลวงแผนดินหมายเลข 41 แยกซายกิโลเมตรที่ 92 ไปบานดวดประมาณ 500 เมตร บริเวณเชิงเขามีบอน้ำรอน
                  จำนวน 3 บอ ซึ่งมีชื่อเรียกคลองจองกันคือ เอื้ออารียธารทิพย อมฤตธารา และพฤกษาชลธาร แตละบอ
                  มีน้ำแรรอนผุดจากผิวดิน อุณหภูมิระหวาง 55-56 องศาเซลเซียส ซึ่งสามารถลงไปแชไดโดยตองคอย ๆ
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146