Page 145 - Chumphon
P. 145

3-73





                                  3) หินปูนจำแนกประเภทไมได

                                    แหลงหินปูนที่จำแนกประเภทไมไดเนืองจากไมมีขอมูลผลวิเคราะหทางเคมีพบ
                  กระจายตัวบริเวณบานเขาหลักและบานในหุบ อำเภอสวีมีเนื้อที่รวม 0.56 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณ
                  ทรัพยากรหินสำรองมีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 48 ลานเมตริกตัน ปจจุบันไมมีการผลิตแตอยางใด

                                  4) ทรายกอสราง
                                    ทรายเปนวัสดุธรรมชาติ มีลักษณะเปนเม็ดและรวนซุย ขนาดเสนผานศูนยกลาง
                  ของเม็ดระหวาง 0.05-2.0 มิลลิเมตร สวนใหญเปนแรควอตซหรือหินเขี้ยวหนุมาน นอกจากนี้ยังพบ
                  เหล็กออกไซดแรเฟลดสปารเศษหิน/แรอื่นๆ ขนาดเล็กปะปนอยูดวย ทรายทมีีการผลิตขึนมาสวนมากใช

                  ในการกอสราง ซึ่งจะตองเปนทรายสะอาดมีเม็ดทรายที่แข็งทนทานตอการสึกกรอนและผุพัง และตองมี
                  มลทิน หรือสวนประกอบอยางอื่นปะปนอยูในปริมาณที่นอยมาก สวนทรายที่ใชในอุตสาหกรรมอื่นๆ
                  เชนใชทำแบบหลอหรือแบบพิมพ ใชในการกรอง ใชในการขัดสีและขัดมัน ใชในการฉาบผิวใชใน
                  อุตสาหกรรมการทำสี ทำเครื่องขัดถู ทำอิฐ และอื่นๆ จะตองคำนึงถึงสมบัติทางเคมีและทางกายภาพ

                  เปนหลัก แหลงทรายเพื่อการกอสรางในจังหวัดชุมพร สวนมากเปนทรายแมน้ำ พบบริเวณคลองรับรอ
                  ตำบลทาขาม ตำบลรับรอ ตำบลหินแกว ตำบลสลุย และตำบลหงษเจริญ คลองทาแซะ ตำบลทรัพย
                  อนันต อำเภอทาแซะ แมน้ำทาตะเภา ตำบลบางลึก และตำบลหาดพันไกร อำเภอเมืองชุมพร แมน้ำหลัง
                  สวน ตำบลแหลมทราย ตำบลหาดยาย ตำบลวังตะกอ ตำบลพอแดง และตำบลหลังสวน อำเภอหลังสวน

                  และแมน้ำละแม ตำบลละแม และตำบลทุงหลวง อำเภอละแม แหลงทรายกอสรางในจังหวัดชุมพร มี
                  กำลังการผลิตรวมประมาณ 0.42 ลานลูกบาศกเมตรตอปโดยผลผลิตทั้งหมดใชภายในจังหวัด

                            3.4.4.2 กลุมแรเพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม

                                   1) แรทองคำ
                                      แรทองคำ เปนแรโลหะมีคา ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติเปนธาตุเดียว อิสระ บางครั้ง

                  เกิดเปนโลหะผสมกับธาตุเงินเรียกวาอีเลคตรัม หรือรวมตัวกับ ธาตุเทลลูเรียม เรียกวาเทลลูไลดหรือเกิด
                  รวมอยูในธาตุทองแดง ธาตุเหล็ก ธาตุบีสมัส ธาตุตะกั่ว ธาตุดีบุก ธาตุสังกะสีและธาตุแพลตินั่ม
                  ประโยชนของทองคำ สามารถใชเปนหลักประกันทางการคลัง ใชแทนเงินตรา ทำเครื่องประดับใชใน
                  อุตสาหกรรมตางๆ เชน เครื่องมือวิทยาศาสตรอิเล็กทรอนิกสคอมพิวเตอรและทันตกรรม แหลงแร
                  ทองคำ ในพื้นที่จังหวัดชุมพร พบกระจายตัวบริเวณพื้นที่เขาใหญคลองกะโดน และบานดวงดี ตำบลสลุย

                  อำเภอทาแซะ ครอบคลุมเนื้อที่ 0.02 ตารางกิโลเมตร แหลงแรเปนโซนหินอุมแรทองคำ มีการเกิดแบบ
                  สัมพันธกับน้ำแรรอนอุณหภูมิต่ำ มีปริมาณสำรองแรที่มีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 538 กิโลกรัม คิด
                  เปนมูลคาประมาณ 250 ลานบาท ปจจุบันยังไมมีการผลิตเนื่องจากความสมบูรณของแรทองคำยังอยูใน

                  เกณฑต่ำ จึงยังไมมีคุณคาทางเศรษฐกิจ
                                   2) แรดีบุก
                                      แรดีบุกที่พบมากในประเทศไทยเปนแร แคสซิเทอไรต (Cassiterite) มีสูตรเคมี
                  เปน SnO 2 ซึ่งมีSn 78.6 % O 21.4 % อาจมีธาตุเหล็ก โคลัมเบียม และแทนตาลัม ปนอยูบางเล็กนอย

                  สวนใหญมีสีดำหรือน้ำตาลแก แรดีบุกสวนใหญจะถลุงเอาโลหะสงไปจำหนายตางประเทศ มีเพียง
                  บางสวนที่ใชในประเทศ สวนใหญใชในการผลิตตะกั่วบัดกรีใชผสมสังกะสีและพลวงในการชุบแผน
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150