Page 140 - Chumphon
P. 140

3-68














































                  รูปที่ 3-21  ทรัพยากรธรรมชาติ บริเวณอุทยานแหงชาติอุทยานแหงชาติหมูเกาะชุมพร

                  ที่มา : สำนักอุทยานแหงชาติ (2565)

                           5) แหลงหญาทะเล
                             แหลงหญาทะเล (Seacgrass Communites) เปนสังคมพืชทางทะเล รูปแบบหนึ่งพบตาม
                  บริเวณชายฝงที่มีคลื่นลมสงบ หญาทะเลมักเจริญงอกงาม ติดตอกันเปนพื้นที่ขนาดใหญโดยมักเจริญปะปนกัน
                  หลายพันธุพืช แตบางครั้งหากชนิดพืชใดครอบครองพื้นที่ไดดีก็จะพบเพียงชนิดเดียว ในบางพื้นที่อาจพบการ

                  เจริญปะปนกัน ระหวางหญาทะเลและสาหรายทะเล พื้นที่ที่พบมักเปนพื้นที่ดินโคลนปนทรายแหลงหญาทะเล
                  เปนแหลงอาศัยแหลงอาหาร และเปนแหลงผสมพันธุวางไขของสัตวทะเลหลายชนิด เชน กุง หอย ปู และปลา
                  เปนตน นอกจากนี้ยังเปนแหลงอาหารหลักของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมทางทะเล ที่จำนวนเหลืออยูนอยมาก และ

                  อยูในสภาพสัตวปาสงวนนั้นคือ พะยูน (Dugong dugon) แหลงหญาทะเล ในอุทยานแหงชาติหมูเกาะชุมพร
                  ปรากฎอยูในอาวทุงคา อำเภอสวี บริเวณปากคลองสวีเฒา ปากคลองสวี และปากคลองชุมพร ชนิดของหญา
                  ทะเลที่สำรวจพบปจจุบันพบเพียงชนิดเดียวคือ หญาชะเงาแคระ (Harophila beccarii) แตคาดวายังคง
                  สามารถพบเพิ่มขึ้นอีกอยางนอย 2 - 3 ชนิด หากไดมีการสำรวจเพิ่มเติม

                           6) แนวปะการัง

                             แนวปะการัง (Coral reefs) เปนระบบนิเวศทางทะเลที่สำคัญอยางยิ่ง สัตวทะเลหลากรูปแบบ
                  และชนิดพันธุไดเขามาอาศัยแนวปะการังเพื่อเปนแหลงอาศัย แหลงอาหาร แหลงหลบภัย และผสมพันธุวางไข
                  โครงสรางทางระบบนิเวศของแนวปะการัง จึงมักมีความซับซอนในดานองคประกอบ สิ่งมีชีวิตและหนาที่ใน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145