Page 146 - Chumphon
P. 146

3-74





                  สังกะสีมุงหลังคา ใชทำกระปองบรรจุอาหาร ผสมทองแดงเพื่อทำทองบรอนซ เปนตน แหลงแรดีบุกใน

                  จังหวัดชุมพร สามารถจำแนกได 5 พื้นที่มีเนื้อที่รวมทงสิ้น 350.19 ตารางกิโลเมตร ไดแก
                                      (1) แหลงแรดีบุกบริเวณเขานาคราช กระจายตัวบริเวณรอยตอกับอำเภอบาง
                  สะพานนอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ อยูในทองที่อำเภอทาแซะ และอำเภอปะทิว มีลักษณะของแหลงแร

                  เปนแบบแรพลัดและแบบลานแรสะสมตัวตามลานตะพักลำน้ำ (terrace deposit) มีชั้นกะสะ ที่ใหแร
                  ดีบุก 1-2 ชั้นกะสะมักพบแรทองคำเปนเกล็ดถึงผงละเอียดเกิดรวม ความหนาของชั้นกะสะ ตั้งแต 0.5-8
                  เมตร มีความสมบูรณของแรดีบุกโดยเฉลียประมาณ 0.26 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร มีเนื้อที่ 4.20
                  ตารางกิโลเมตร มีปริมาณทรัพยากรแรดีบุกสำรองมีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 88 เมตริกตัน

                                      (2) แหลงแรดีบุกบริเวณตำบลสลุย-รับรอ กระจายตัวบริเวณตำบลสลุย และ
                  ตำบลรับรอ อำเภอทาแซะ มีลักษณะของแหลงแรเปนแบบแหลงลานแร และแหลงแรพลัดที่แรดีบุกหลุด
                  มาจากสายเพกมาไทตสายแรควอตซและหินแกรนิตที่มีแรดีบุกฝงประอยูผุพังลง สะสมตัวตามแองน้ำ
                  คลองรับรอ และคลองอาธรรม ในบริเวณที่ราบลุมคลองอาธรรมมีความสมบูรณของแรดีบุกในลานแร

                  เฉลี่ยประมาณ 0.35 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร  มีเนื้อที่ 133.29 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณทรัพยากรแร
                  ดีบุกสำรองมีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 2,800 เมตริกตัน
                                      (3) แหลงแรดีบุกบริเวณบานนายหูด ครอบคลุมเนื้อที่ 23.86 ตารางกิโลเมตร
                  กระจายตัวบริเวณตำบลนาขา อำเภอหลังสวน ในอดีตเปนแหลงแรดีบุกแบบลานแร (Placer deposit)

                  ที่มีความสมบูรณสูงแหงหนึงของประเทศ มีความสมบูรณประมาณ 0.4 ชั่งตอลูกบาศกหลา เคยมีการทำ
                  เหมืองสูบหลายเหมือง และเหมืองเรือขุดในบางแหง แตละเหมืองเคยผลิตแรดีบุกไดมากกวา 200 หาบ
                  ตอเดือน ในป พ.ศ. 2533 เคยมีประทานบัตรเหมืองแรดีบุกในบริเวณนี้จำนวน 30 แปลง และผลิตแร
                  ดีบุกไดมากกวา 200 หาบตอเดือน ตอมาในป พ.ศ. 2534 ทำเหมืองแบบเหมืองหาบโดยบริษัท เหมือง

                  แรชุมพร จำกัด ที่มีประทานบัตร จำนวน 3 แปลง ปจจุบันประทานบัตรสิ้นอายุแลว แหลงแรนี้มีปริมาณ
                  ทรัพยากรแรสำรองทมีีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 800 เมตริกตัน
                                      (4) แหลงแรดีบุกพะโตะ-ปากทรง กระจายตัวบริเวณอำเภอพะโตะ เปนแหลงแร
                  ดีบุกที่เกิดในสายเพกมาไทตรวมกับแรตระกูลโคลัมเบียม-แทนทาลัม สวนใหญแลวพบแหลงแรดีบุก ใน

                  บริเวณนี้เปนแหลงลานแรพลัดไหลเขา และลานแร ซึ่งพบตามที่ลุมน้ำแคบๆ ในซอกเขา เนื่องจากการผุ
                  กรอนของหินสูง แรดีบุกจึงมักถูกน้ำพัดพามาสะสมตัวอยูตามลำหวยเปนจำนวนมาก แหลงแรดีบุกพะ
                  โตะ-ปากทรงนี้ เคยมีการเหมืองแร โดยบริษัทไทยไมเนอรัล จำกัด บริษัทเหมืองแรคลองตอน จำกัด หาง

                  หุนสวนจำกัด สินแรพะโตะ และเหมืองแรบางนาว แหลงแรนี้มีเนื้อที่รวมกันทั้งสิ้น 201.94 ตาราง
                  กิโลเมตร มีปริมาณทรัพยากรแรดีบุกสำรองมีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 4,240 เมตริกตัน
                                      (5) แหลงแรดีบุกราชกรูด กระจายตัวบริเวณดานทิศตะวันตกของอำเภอพะโตะ
                  เปนแนวติดตอกับตำบลราชกรูด อำเภอกระเปอร จังหวัดระนอง เปนเขาสูง มีเนื้อที่รวมกันทั้งสิ้น
                  ประมาณ 7.67 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณทรัพยากรแรดีบุกสำรองมีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 1,190

                  เมตริกตัน แหลงแรดีบุกของจังหวัดชุมพร เปนทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญอยางหนึ่งของจังหวัด มีการ
                  ผลิตตั้งแตกอนป 2454 เปนแรที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ เคยทำรายไดใหจังหวัดชุมพรในป 2525 โดย
                  จัดเก็บเงินคาภาคหลวงแรจากผลผลิตแรดีบุกเปนรายไดจำนวน 3,585,076.85 บาท แตหลังจากปลายป
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151