Page 147 - Chumphon
P. 147

3-75





                  2528 ไดเกิดภาวะราคาแรดีบุกตกต่ำเนื่องตลอดมาจนปจจุบัน ประกอบกับอุปกรณการผลิตมีราคาสูง

                  มากการทำเหมืองแรดีบุกจึงไมคุมกับการลงทุนผูประกอบการไดชะลอการผลิตและหยุดการทำเหมือง
                                   3) หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ
                                      หินปูนที่มีความเหมาะสมตออุตสาหกรรมอื่นๆ เปนหินปูนที่มีความบริสุทธิ์ปาน

                  กลาง มีองคประกอบทางเคมีมีสวนประกอบของแคลเซียมออกไซดมากกวารอยละ 53.2 หรือมีปริมาณ
                  ของแคลเซียมคารบอเนตรอยละ 95 และมีคามลทินของ SiO2 มากกวารอยละ 1 สวนใหญจะนำไปใชใน
                  การทำปูนขาวสำหรับปรับสภาพน้ำและอากาศ และใชในอุตสาหกรรมการเกษตร เปนตน แหลงหินปูน
                  เพื่ออุตสาหกรรมอื่นๆ ในจังหวัดชุมพร พบมีพื้นที่แหลงแรจำนวน 6 บริเวณ ไดแก บริเวณเขาหินปูน

                  บริเวณตำบลมาบอำมฤต และเขาปางจาก อำเภอปะทิว บริเวณตอนกลางของเขาจอมเหียง บานอาว
                  คราม ตำบลดานสวี เขาคูรำ และเขางด อำเภอสวีมีเนื้อที่รวมกันทั้งสิ้น 4.54 ตารางกิโลเมตรปริมาณ
                  ทรัพยากรหินสำรองมีศักยภาพเปนไปไดประมาณ 747 ลานเมตริกตัน ปจจุบันไมมีการผลิตแตอยางใด
                                   4) ทรายแกว

                                      ทรายแกว หรือทรายอุตสาหกรรมเปนสินแรอโลหะชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญตอ
                  การพัฒนาประเทศ เปนสินแรที่ใชประโยชนในการทำเครื่องแกว กระจกชนิดตางๆ ใชในอุตสาหกรรม
                  เซรามิก อุตสาหกรรมหลอโลหะ อุตสาหกรรมเคมและอุตสาหกรรมอื่นๆ เชนทำกระดาษทราย ทำอิฐทน
                  ไฟ ทำทรายพนสำหรับถลุงเอาธาตุซิลิกอน คุณสมบัติโดยทั่วไปของทรายแกว คือ เปนทรายบริสุทธิ์ขาว

                  สะอาดเปนสวนใหญ ทีมีปริมาณซิลิกาออกไซด (SiO 2) มากกวารอยละ 95 มีสารเจือปนอื่นๆ เล็กนอย
                  สารเจือปนในทรายแกวที่พบบอยๆ คือ เหล็ก แรดิน แมกนีเซียม และสารอินทรีซึ่งจะทำใหทรายแกวมีสี
                  เทาอมเขียว เหลือง และน้ำตาล ทั้งนี้ขึ้นอยูกับปริมาณของเหล็ก และสารอินทรียชนิดตางๆ ทรายแกวที่
                  ใชในอุตสาหกรรมตางๆ โดยทั่วไปจะตองนำไปหลอมกอนดำเนินการใดๆ ทรายที่ใชควรมีขนาดที่ไมใหญ

                  กวา 0.85 มิลลิเมตร และไมเล็กกวา 0.125 มิลลิเมตร เนื่องจากถาใหญเกินไป จะทำใหหลอมละลายได
                  ยาก ใชปริมาณความรอนเปนจำนวนมาก และใชเวลานานหรือหากเล็กกวาขนาดดังกลาว เม็ดทรายอาจ
                  ถูกดูดเขาไปในเตาหลอมหรือหลอมไมหมด เนื่องจากมีฟองอากาศไปหุมเม็ดทรายขนาดเล็กไว ทำใหแกว
                  หรือกระจกมีฟองอยูภายใน แหลงทรายแกวในจังหวัดชุมพร พบบริเวณพื้นที่อำเภอปะทวิ อำเภอเมือง

                  ชุมพร อำเภอสวี และอำเภอทุงตะโก จำนวน 4 แหลง มีเนื้อที่รวม 7.76 ตารางกิโลเมตร มีปริมาณ
                  ทรัพยากรแรสำรองมีศักยภาพเปนไปไดรวมประมาณ 5.16 ลานเมตริกตัน ดังรายละเอียดตอไปนี้
                                      (1) แหลงแรทรายแกวบานดอนตะเคียน ครอบคลุมเนื้อที่ 1.77 ตารางกิโลเมตร

                  อยูในเขตตำบลชุมโค อำเภอปะทิว มีลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบอยูหางจากชายฝงทะเลประมาณ 3
                  กิโลเมตร เปนแหลงแรทรายแกวชนิดทรายชายฝงปจจุบัน ลักษณะแรทรายแกว มีขนาดละเอียด สีขาว
                  สะอาด มีการคัดขนาดคอนขางดีและมีสิ่งเจือปนนอย มีแรหนักปนอยูประมาณรอยละ 1-5 เคยมี
                  ผูประกอบการเหมืองทรายแกวถือประทานบัตรจำนวน 3 แปลง ที่ดินสวนใหญเปนกรรมสิทธของ
                  สถาบันเทคโนโลยีเจาคุณทหาร ลาดกระบัง และไดจัดสรรที่บางสวนสรางเปนสนามบินจังหวัดชุมพร

                  เรียบรอยแลว จึงคำนวณปริมาณทรัพยากรแรสำรองที่หลงเหลืออยูในพื้นที่นี้ประมาณรอยละ 5 ของ
                  ปริมาณทรัพยากรแรสำรองที่กรมทรัพยากรธรณีไดประเมินไวคือ 955,500 เมตริกตัน ดังนั้นแหลงแร
                  ทรายแกวที่เหลืออยูประมาณ 47,775 เมตริกตัน
   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152