Page 152 - Chumphon
P. 152

4-2





                  มีความสงบ และทำงานตั้งจิตอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ที่จะใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน ไมใชวา

                  จะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ ถาเรารักษา
                  ความพออยูพอกินนี้ได เราก็จะยอดยิ่งยวดได...” (4 ธันวาคม 217)
                              พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นวาแนวทางการพัฒนาที่เนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจ

                  ของประเทศเปนหลักแต เพียงอยางเดียวอาจจะเกิดปญหาได จึงทรงเนนการมีพอกินพอใชของ
                  ประชาชนสวนใหญในเบื้องตนกอน เมื่อมีพื้นฐานความมั่นคงพรอมพอสมควรแลว จึงสรางความเจริญ
                  และฐานะทางเศรษฐกิจใหสูงขึ้น (มูลนิธิชัยพัฒนา, 2553:; เกษม, 2558)
                      4.1.2 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560

                                  มาตรา 72 (1) วางแผนการใชที่ดินของประเทศไทยเหมาะสมกับสภาพของพื้นที่และ
                  ศักยภาพของที่ดินตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน
                      4.1.3 ยุทธศาสตร 20 ป (พ.ศ. 2560-2579)
                                ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน ประกอบดวยยุทธศาสตรยอยที่

                  2.1.2 บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เปนฐานของการผลิตภาคเกษตรอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหมี
                  ความเขมแข็งและยั่งยืน โดยตองมีการวางแผนการบริหารทรัพยากรธรรมชาติของประเทศทั้งระบบ
                  ทั้งที่ดิน แหลงน้ำ ปาไม สินแร เพื่อใหมีการเขาถึงการใชประโยชน การอนุรักษ และการฟนฟู
                  ทรัพยากรธรรมชาติอยางเหมาะสม คุมคา มีประสิทธิภาพและสมดุล สามารถเปนฐานของภาคการผลิต

                  ทั้งเกษตรและอุตสาหกรรมที่มีมูลคาเพิ่มสูง ในขณะเดียวกันตองไมเกิดผลกระทบในทางลบตอ
                  สิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ และที่สำคัญ คือ ชวยสรางความมั่นคงของประเทศในดานพลังงานและ
                  อาหาร โดยมุงเนนการสงเสริมใหประชาชนในชุมชนมีความรูสึกเปนเจาของทรัพยากรและมีสวนรวมกับ
                  หนวยงานรัฐในทองถิ่นในการดูแลรักษา ฟนฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนอยางตอเนื่อง

                                ยุทธศาสตรที่ 5 ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
                  ประกอบดวยยุทธศาสตรที่ 5.2 วางระบบบริหารจัดการน้ำอยางบูรณาการใหมีประสิทธิภาพใน 25 ลุมน้ำ
                  ทั้งดานอุปสงคและอุปทาน เนนการปรับระบบการบริหารจัดการอุทกภัยอยางบูรณาการใหมีแหลง
                  กักเก็บน้ำตนทุนและแหลงชะลอน้ำที่เพียงพอ เพิ่มขีดความสามารถในการเก็บกักน้ำ และเพิ่ม

                  ประสิทธิภาพการระบายน้ำ และการผันน้ำ โดยขุดลอกรองน้ำและแหลงน้ำเพื่อแกปญหาอุทกภัย ภัยแลง
                  ควบคูกับแผนงานกำหนดพื้นที่รับน้ำนอง และการพัฒนาคลังขอมูล ระบบพยากรณและการเตือนภัย
                  และแผนงานเผชิญเหตุเฉพาะพื้นที่ ตลอดจนการปรับปรุงองคกรและกฎหมาย รวมทั้งการสรางการมี

                  สวนรวมในการบริหารจัดการน้ำ
                      4.1.4 แผนการปฏิรูปประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม : ทรัพยากรดิน
                                  มีประเด็นยอยที่เกี่ยวของ 2 ประเด็น ไดแก
                                  ประเด็นยอยที่ 2.1 จัดทำแผนการใชที่ดินของชาติทั้งระบบใหสอดคลองและเหมาะสมกับ
                  ศักยภาพของพื้นที่และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยมีเปาหมาย คือ 1) ประเทศมี

                  แผนการใชที่ดินของชาติทั้งระบบที่มีความถูกตอง แมนยำ และเปนปจจุบัน สอดคลองและเหมาะสมกับ
                  ศักยภาพของพื้นที่และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และ 2) เกษตรกรสามารถนำขอมูล
                  แผนการใชที่ดินผานระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและชองทางอื่นๆ ไปใชในการพัฒนา
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157