Page 155 - Chumphon
P. 155

4-5





                  การเกษตรที่ยั่งยืน และการสรางกลไกการปองกันและแกไขปญหาการสูญเสียสิทธิในที่ดินเกษตรกรรม

                  เพื่อรักษาฐานการผลิตภาคเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน และ 3) การเตรียมความพรอมในการปรับตัว
                  ดานการใชประโยชนที่ดินและทรัพยากรดินตอผลกระทบและภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                  ภูมิอากาศ พื้นที่ที่ไดรับความเสี่ยงจากการเกิดภัยธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น โดยมุงเนนการคาดการณ

                  และประเมินผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นในที่ดินหรือทรัพยากรดินจากการเปลี่ยนแปลสภาพภูมิอากาศ
                  หรือภัยธรรมชาติและการกำหนดแนวทางในการรับมือ ปองกัน แกไขปญหา กำหนดมาตรการชวยเหลือ
                  ที่เหมาะสม ในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบและภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พื้นที่ที่ไดรับ
                  ความเสี่ยงจากการเกิดภัยธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น โดยมีการบูรณาการรวมกันของทุกภาคสวนที่

                  เกี่ยวของ
                                  ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน มีกลยุทธหลัก ไดแก
                  1) พัฒนาเครื่องมือ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน ใหเกิดประโยชนสูงสุด และ
                  เปนธรรมโดยมุงเนนการพัฒนาปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบขอบังคับ ที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ

                  ที่ดินและทรัพยากรดิน รวมทั้งผลักดันใหมีผลบังคับใชอยางมีประสิทธิภาพ การสงเสริมการนำ
                  เทคโนโลยีนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพมาใชในการบริหารจัดการที่ดิน และทรัพยากรดิน การเรงรัด
                  พัฒนาระบบฐานขอมูลที่ดินและทรัพยากรดิน การจัดทำแผนที่กำหนดแนวเขต ที่ดินของรัฐ โดยมี
                  กฎหมายรองรับ มีมาตรการทางการเงิน การคลัง เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน

                  ใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม และ 2) การพัฒนาองคความรูดานการบริหารจัดการที่ดินและ
                  ทรัพยากรดิน โดยมุงเนนการสงเสริมสนับสนุนศึกษาวิจัยและการพัฒนาเกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากรดิน
                  โดยมีแผนงานการวิจัยที่เปนระบบ รวมทั้งเผยแพรประชาสัมพันธงานวิจัยอยางตอเนื่อง เพื่อผลักดัน
                  ผลงานการวิจัยไปสูการปฏิบัติ และการพัฒนาการถายทอดองคความรูดานการบริหารจัดการที่ดินและ

                  ทรัพยากรดิน ทั้งในประเทศและระหวางประเทศ
                      4.1.7 แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย (พ.ศ. 2566-2570)

                             แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคใตฝงอาวไทย ระยะ 5 ป (พ.ศ.2566 – 2570) จัดทำขึ้นเพื่อ
                  เปนแนวทางในการพัฒนากลุมจังหวัด ภายในระยะ 5 ปตอไป คือในชวง พ.ศ. 2566-2570 โดยมีความ
                  สอดคลองกับกรอบเวลาของแผนพัฒนาประเทศระยะ ๒๐ ป ระยะที่ ๒ และ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

                  สังคมแหงชาติฉบับที่ 13 ดังนั้น การจัดทำแผนพัฒนาฉบับนี้ จะยึดยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ 2561-2580)
                  และแผนระดับที่ 2 ตาง ๆ เชน แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                  แหงชาติ โดยเฉพาะการใหความสำคัญกับแผนพัฒนาภาคใต และในอีกดานหนึ่งเพื่อใหแผนพัฒนากลุม
                  จังหวัด เปนแผนที่ตอบสนองตอพื้นที่อยางแทจริง  การจัดทำแผนจะใชปจจัยที่สำคัญของพื้นที่ ไดแก
                  ศักยภาพดานตาง ๆ และสภาพปญหา และความตองการของพื้นที่ ผานกระบวนการวิเคราะหขอมูล

                  พื้นที่ และการวิเคราะหศักยภาพ และสภาพแวดลอม (SWOT Analysis)  รวมถึงการใชกระบวนการ
                  การมีสวนรวมของทุกภาคสวน ผานการจัดเวทีระดมความคิดเห็นของประชาชนโดยผานกระบวนการ
                  สนทนากลุม ( focus group) จำนวน 5 กลุม คือ กลุมภาคสวนที่เกี่ยวของกับการเกษตร การทองเที่ยว

                  การอุตสาหกรรม การคา การลงทุน และการคาตางประเทศ กลุมโครงสรางพื้นฐาน และกลุมสังคมและ
                  สิ่งแวดลอม ตามลำดับ เพื่อรวบรวมปญหา ความตองการการพัฒนา ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะ
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160