Page 72 - Lamphun
P. 72

4-6





                  และเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับ/ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการพัฒนาองค์

                  ความรู้และเครื่องมือในการบริหารจัดการเพื่อรองรับกับความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                  ภูมิอากาศ
                        7) แผนพัฒนาจังหวัดล าพูน (พ.ศ.2566-2570)

                            แผนพัฒนาจังหวัดล าพูน พ.ศ. 2566-2570 ให้ความส าคัญกับนโยบายการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง
                  และให้ความส าคัญกับแนวโน้มการพัฒนาจังหวัดล าพูนสาระที่เกี่ยวข้องกับการจัดท าแผนยุทธศาสตร์
                  การพัฒนาจังหวัดล าพูนประกอบด้วยแผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี นโยบายรัฐบาลโมเดลเศรษฐกิจ
                  ไทยแลนด์ 4.0 แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนยุทธศาสตร์
                  กระทรวงมหาดไทยและยังมีแผนของหน่วยงานระดับกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดล าพูน เช่น

                  ยุทธศาสตร์บริหารจัดการทรัพยากรน้ า แผนแม่บทแก้ไขปัญหาการท าลายทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุก
                  ที่ดินของรัฐ และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรม
                  ไทย แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของไทย แผนพัฒนาการท่องเที่ยว

                  แห่งชาติ และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์
                            เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดไปสู่การเป็น“เมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์ บนความพอเพียง” โดยมี
                  เป้าประสงค์การพัฒนาจังหวัด เพื่อ 1) เพื่อสร้างความเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ และการขยายทาง
                  เศรษฐกิจแบบสมดุลทั้งภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ และภาคเกษตร โดยเน้นส่งเสริมการพัฒนาจาก

                  ฐานศักยภาพของจังหวัด และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน 2) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
                  ประชาชนครอบคลุมทุกกลุ่มทุกช่วงวัย ให้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรมเป็นสังคมที่มั่นคง ประชาชนอยู่
                  ร่วมกันอย่างสันติ ภายใต้กลไกการเชื่อมประสานความสัมพันธ์ปรองดองที่มีประสิทธิภาพ
                  3) เพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อมของเมืองให้น่าอยู่และยั่งยืน

                  โดยแบ่งประเด็นการพัฒนา ออกเป็น 4 ประเด็น ดังนี้
                              ประเด็นการพัฒนาที่ 1  : เมืองแห่งวัฒนธรรมอัตลักษณ์วิถีและท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
                              วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาเมืองเก่าเมืองแห่งวัฒนธรรมเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
                  อัตลักษณ์วิถีเชื่อมโยงการท่องเที่ยวรูปแบบใหม่บนฐานดิจิทัลให้เป็นเมืองเก่าที่ Smart และเมืองแห่งการ

                  ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอัตลักษณ์วิถี
                              ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : เมืองแห่งอุตสาหกรรม หัตถอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจ
                  สร้างสรรค์

                              วัตถุประสงค์ : เป็นเมืองอุตสาหกรรมที่สามารถเชื่อมโยงกับฐานผลิตของจังหวัด
                  และพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่เมืองใหม่ที่มีศักยภาพเป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมที่สร้างงานและ
                  มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจรวมทั้งเป็นแหล่งอุตสาหกรรมและหัตถอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ที่ต่อยอดและ
                  สร้างมูลค่าเพิ่มจากทุนทางวัฒนธรรมของพื้นที่
                              ประเด็นที่ 3 : เมืองแห่งเกษตรสุขภาพและเกษตรนวัตกรรมสร้างสรรค์

                              วัตถุประสงค์ : เป็นแหล่งผลิตและจ าหน่ายผลิตภัณฑ์การเกษตร เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น เกษตร
                  แปรรูป เกษตรมูลค่าสูงและเกษตรสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐานโดดเด่นของภาคเหนือและ
                  ของประเทศ
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77