Page 71 - Lamphun
P. 71

4-5





                                  - ส่งเสริมการน าเทคโนโลยี นวัตกรรมและภูมิปัญญามาใช้ในกระบวนการผลิตสนับสนุน

                  การวิจัยและพัฒนาทางการเกษตรทั้งระบบ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรทั้งเชิงปริมาณ
                  และคุณภาพ ส่งเสริมแนวคิด Food Valley ตลอดจนพัฒนาศักยภาพเกษตรกรให้เป็นเกษตรอัจฉริยะ
                                  - พัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพตลอดห่วงโซ่คุณค่าในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง เชื่อมโยง

                  กับอุตสาหกรรมฐานชีวภาพของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อยกระดับ
                  การผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมชีวภาพ
                              (3) พัฒนาการท่องเที่ยวและบริการบนฐานภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
                              (4) เสริมศักยภาพของเมืองและพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเพื่อรองรับการขยายตัวทาง
                  เศรษฐกิจ และเอื้อต่อการอยู่อาศัย

                              (5) พัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิต เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาผู้สูงอายุสู่การเป็น
                  ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ (Active Aging) และพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน
                              (6) อนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้ า พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ าที่มีความสมดุล ป้องกันและแก้ไข

                  ปัญหาหมอกควัน ปัญหาสิ่งแวดล้อมเมือง
                                  - อนุรักษ์ฟื้นฟูระบบนิเวศและป่าไม้ในพื้นที่ป่าต้นน้ า โดยให้ความส าคัญกับการฟื้นฟู
                  ป่าต้นน้ าที่เสื่อมโทรมให้มีความอุดมสมบูรณ์ ตลอดจนส่งเสริมการปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าต้นน้ า
                  สร้างฝายชะลอน้ า ปลูกพืชที่ช่วยอนุรักษ์ดินและน้ า ป้องกันแก้ไขปัญหาการบุกรุกท าลายพื้นที่ป่า

                  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่/สนับสนุนการสร้างเครือข่ายการดูแลรักษาป่า
                  ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และสร้างจิตส านึกของประชาชนถึงความส าคัญของทรัพยากรป่าไม้
                                  - พัฒนาการบริหารจัดการน้ าในลักษณะนิเวศลุ่มน้ า โดยพัฒนาแหล่งกักเก็บน้ าในพื้นที่
                  ตามความเหมาะสมทางภูมิสังคม เพื่อให้เกิดความสมดุลทั้งในด้านการจัดหาและการใช้ เพื่ออุปโภค

                  บริโภค การรักษาระบบนิเวศทางน้ า การเกษตรกรรม และการอุตสาหกรรม เชื่อมโยงแหล่งน้ าระดับ
                  ต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายน้ าอย่างทั่วถึง เร่งรัดการรักษาพื้นที่ชุ่มน้ าอย่างจริงจัง อนุรักษ์
                  ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์แหล่งน้ าอย่างยั่งยืน
                                  - แก้ไขปัญหาหมอกควัน โดยสนับสนุนการประยุกต์ใช้วิธีการด้วยรูปแบบที่เกิดผลส าเร็จ

                  มาแล้วในหลายพื้นที่ และปรับให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของชุมชน เน้นการมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาจากทุก
                  ภาคส่วนในการแสวงหาความรู้/เทคโนโลยีใหม่ที่จะเป็นทางเลือกให้เลิกพฤติกรรมการเผาวัสดุทางการ
                  เกษตร มีการจัดตั้งเครือข่ายการเฝ้าระวังในพื้นที่/การลาดตระเวนเพื่อป้องปรามผู้ลักลอบฝ่าฝืนกฎหมาย

                  และบังคับใช้ข้อกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเข้มงวด จริงจัง และรวดเร็ว
                                  - ลดปัญหาสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน โดยจัดให้มีระบบก าจัดขยะและน้ าเสียด้วย
                  เทคโนโลยีที่เหมาะสม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมในหลากหลาย
                  รูปแบบอาทิ การคัดแยกขยะที่ต้นทาง ลดการเกิดขยะ การน าขยะกลับมาใช้ซ้ าให้เกิดประโยชน์ ส่งเสริม
                  การสร้างความเข้าใจและความตระหนักรู้ให้กับประชาชนเพื่อปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตแบบใหม่ที่เป็นมิตร

                  กับสิ่งแวดล้อมใช้มาตรการจูงใจในการลดขยะควบคู่กับมาตรการทางกฎหมายให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
                                  - เตรียมความพร้อมเพื่อรองรับกับภัยพิบัติทางธรรมชาติโดยสนับสนุนองค์ความรู้การ
                  จัดการภัยพิบัติให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบฐานข้อมูลการสื่อสารโทรคมนาคม ส่งเสริมการพัฒนา

                  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านการจัดการภัยพิบัติเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการจัดการภัยพิบัติ
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76