Page 76 - Lamphun
P. 76

4-10





                  ทุเรียน ล าไย และมังคุด เพราะตลาดยังมีความต้องการอีกมาก ที่ส าคัญไทยยังส่งออกดีต่อเนื่อง ทั้งยัง

                  รักษามาตรฐาน ขณะที่สินค้าส่งออกที่จะมีแนวโน้มลดลงชัดเจนที่สุด คือ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เนื่องจากความ
                  ต้องการในประเทศเพิ่มสูงท าให้ตลาดอาเซียนที่เป็นประเทศคู่ค้าของไทยมีแนวโน้มลดลง
                        จังหวัดล าพูนคาดการณ์ว่าจะเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีบทบาทส าคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศทางด้าน

                  การเกษตรกรรมที่สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรในจังหวัดในการส่งออกผลผลิตทางการเกษตร ทั้งนี้เป็น
                  โอกาสของจังหวัดล าพูนในอนาคตจะต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ เพื่อเพิ่มปริมาณการ
                  ผลิตอาหารให้มีมากพอรองรับความต้องการที่เพิ่มขึ้น โดยจะต้องมีการน าเทคโนโลยี เครื่องจักร
                  ที่ทันสมัยมาใช้มากขึ้น รวมถึงมีการบริหารจัดการที่ดีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
                        แนวโน้มด้านอุตสาหกรรมจังหวัดล าพูนจากการวิเคราะห์สถานการณ์ในปัจจุบันผู้ประกอบการมี

                  การพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางด้านอุตสาหกรรมมากขึ้น และที่ส าคัญ
                  อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของจังหวัดล าพูนเป็นอุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตเกษตร
                  จึงเป็นโอกาสที่ส าคัญของจังหวัดที่ภาคการผลิตสามารถเป็นวัตถุดิบเพื่อการแปรรูปในพื้นที่ จึงเป็น

                  แนวทางที่เชื่อมโยงกันระหว่างการผลิตของเกษตรกร และภาคอุตสาหกรรมผู้แปรรูป และเพื่อรองรับ
                  แนวโน้มในอนาคตจังหวัดล าพูนได้วางแนวทางตามแผนพัฒนาจังหวัดล าพูน เพื่อเตรียมพร้อมให้
                  อุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดล าพูนในการก้าวไปสู่การเป็นผู้ผลิตที่ส าคัญใน
                  ระดับประเทศและต่างประเทศ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานรองรับทั้งในด้านแรงงาน วัตถุดิบ เทคโนโลยี

                  มาตรฐาน วิจัยและพัฒนา และพัฒนาการผลิตด้านอุตสาหกรรมสีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                  การมุ่งเน้นการพัฒนาต่อจากการพัฒนาฐานความรู้เพื่อน ามาต่อยอดในการพัฒนาภาคการผลิตและ
                  สินค้า เน้นการผลิตสินค้าที่ต้องใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ปรับบทบาทจังหวัดล าพูนให้เป็นตัวกลางใน
                  การบริหารจัดการระบบห่วงโซ่การผลิตในภาคตะวันตกให้เป็นที่ยอมรับในประเทศและอาเซียน โดยการ

                  พัฒนาเป็นศูนย์กลางการค้าและบริหารจัดการการผลิตและจัดการเครือข่ายในประเทศ ยกระดับ
                  การผลิตวัตถุดิบเพื่อสร้างให้เกิดมูลค่าเพิ่ม รวมถึงการสร้างนวัตกรรมทรัพย์สินทางปัญญาและ
                  ภาพลักษณ์ตราสินค้าล าพูนให้เป็นที่ยอมรับในประเทศและอาเซียน

                  4.3  การวิเคราะห์พื้นที่โดยใช้ DPSIR

                        การวิเคราะห์เพื่อก าหนดเขตการใช้ที่ดินจังหวัดล าพูน ได้วิเคราะห์เชิงระบบโดยใช้ระบบ DPSIR:
                  Drivers-Pressures-States-Impact-Responses (แรงขับเคลื่อน - ความกดดัน - สถานภาพทรัพยากร
                  - ผลกระทบ - การตอบสนอง) ซึ่ง DPSIR ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาใช้ในการวิเคราะห์ภาพรวมของผลกระทบ
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับประเทศและระดับนานาชาติ โดยมีการใช้กันอย่าง
                  แพร่หลาย ทั้งนี้ กรอบแนวคิด DPSIR ของการก าหนดเขตการใช้ที่ดินจังหวัดล าพูนมีกรอบแนวคิดในการ

                  วิเคราะห์ คือ ปัจจัย (Drivers) ที่เป็นสาเหตุของปัญหาด้านทรัพยากรดินและสิ่งแวดล้อม เป็นตัว
                  ขับเคลื่อนในการสร้างความกดดัน (Pressure) ต่อรัฐบาลหรือผู้รับผิดชอบโครงการ ซึ่งทั้งปัจจัย (Drivers)
                  และความกดดัน (Pressure) ส่งผลให้ทราบถึงสถานภาพหรือสถานการณ์ (State) ของทรัพยากรธรรม

                  ที่ดินและสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ก่อให้เกิดผลกระทบ (Impact) ในหลายๆ ด้านซึ่งผลกระทบในแต่ละด้าน
                  สามารถสะท้อนการตอบสนอง (Response) เชิงนโยบายหรือการบริหารการจัดการภาครัฐ เพื่อก าหนด
                  นโยบายหรือมาตรการในการตอบสนองการแก้ปัญหา เพื่อลดผลกระทบ ตลอดจนป้องกันปัญหาที่อาจ
                  เกิดขึ้นได้ในอนาคตซึ่งแต่ละปัจจัยสามารถอธิบายรายละเอียดได้ ดังนี้
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81