Page 133 - Land Use Plan of Thailand
P. 133

4-15





                  น้ าท่วมขัง นอกจากนี้ถ้าความถี่ของพายุที่เคลื่อนที่เข้ามาหรือเคลื่อนผ่านเกิดขึ้นต่อเนื่องกัน ถึงแม้จะ

                  ในช่วงสั้นๆ แต่ก็มักจะท าให้เกิดน้ าท่วมเสมอ(3) ฝนตกหนักในป่าบนภูเขา ท าให้ปริมาณน้ าบนภูเขาหรือ
                  แหล่งต้นน้ ามาก มีการไหลและเชี่ยวอย่างรุนแรงลงสู่ที่ราบเชิงเขา เกิดน้ าท่วมขึ้นอย่างกะทันหัน เรียกว่าน้ า
                  ท่วมฉับพลัน เกิดขึ้นหลังจากที่มีฝนตกหนักในช่วงระยะเวลาสั้นๆ หรือเกิดก่อนที่ฝนจะหยุดตก มักเกิดขึ้น

                  ในล าธารเล็กๆ โดยเฉพาะตอนที่อยู่ใกล้ต้นน้ าของบริเวณลุ่มน้ า ระดับน้ าจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว จังหวัดที่
                  อยู่ใกล้เคียงกับเทือกเขาสูง เช่น จังหวัดเชียงใหม่ เคยมีปรากฏการณ์เช่นนี้อยู่เสมอ (4) ผลจากน้ าทะเล
                  หนุน ในระยะที่ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์อยู่ในแนวที่ท าให้ระดับน้ าทะเลขึ้นสูงสุด น้ าทะเลจะหนุนให้
                  ระดับน้ าในแม่น้ าสูงขึ้นอีกมาก เมื่อประจวบกับระยะเวลาที่น้ าป่าและจากภูเขาไหลลงสู่แม่น้ าท าให้น้ าใน
                  แม่น้ าไม่อาจไหลลงสู่ทะเลได้ ท าให้เกิดน้ าเอ่อล้นตลิ่งและท่วมเป็นบริเวณกว้าง ยิ่งถ้ามีฝนตกหนักหรือมี

                  พายุเกิดขึ้นในช่วงนี้ ความเสียหายจากน้ าท่วมชนิดนี้จะมีมากมายทีเดียว(5) ผลจากลมมรสุมมีก าลังแรง
                  มรสุมตะวันตกเฉียงเป็นมรสุมที่พัดพาความชื้นจากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ประเทศไทย ตั้งแต่เดือน
                  พฤษภาคมถึงตุลาคม เมื่อมรสุมนี้มีก าลังแรงเป็นระยะเวลาหลายๆ วัน ท าให้เกิดคลื่นลมแรง ระดับน้ าใน

                  ทะเลตามขอบฝั่งจะสูงขึ้น ประกอบกับมีฝนตกหนักท าให้เกิดน้ าท่วมได้ ยิ่งถ้ามีพายุเกิดขึ้นในทะเลจีนใต้ก็
                  จะยิ่งเสริมให้ลมมรสุมดังกล่าวมีก าลังแรงขึ้นอีก ส่วนมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดจากประเทศจีนเข้าสู่
                  ประเทศไทย ปะทะขอบฝั่งตะวันออกของภาคใต้ มรสุมนี้มีก าลังแรงเป็นครั้งคราว เมื่อบริเวณความกด
                  อากาศสูงในประเทศจีนมีก าลังแรงขึ้นจะท าให้มีคลื่นค่อนข้างใหญ่ในอ่าวไทย และระดับน้ าทะเลสูงกว่าปกติ

                  บางครั้งท าให้มีฝนตกหนักในภาคใต้ ตั้งแต่จังหวัดชุมพร ลงไปท าให้เกิดน้ าท่วมเป็นบริเวณกว้างและ (6)
                  ผลจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด เมื่อเกิดแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟบนบกและภูเขาไฟใต้น้ าระเบิด
                  เปลือกของผิวโลกบางส่วนจะได้รับความกระทบกระเทือนต่อเนื่องกัน บางส่วนของผิวโลกจะสูงขึ้น
                  บางส่วนจะยุบลง ท าให้เกิดคลื่นใหญ่ในมหาสมุทรซัดขึ้นฝั่ง เกิดน้ าท่วมตามหมู่เกาะและเมืองตามชายฝั่ง

                  ทะเลได้ เกิดขึ้นบ่อยครั้งในมหาสมุทรแปซิฟิก
                                       -  สาเหตุจากมนุษย์ ได้แก่ (1) การตัดไม้ท าลายป่า ในพื้นที่เสี่ยงภัยเมื่อเกิดฝน
                  ตกหนักจะท าให้อัตราการไหลสูงสุด (Peak discharge) เพิ่มมากขึ้นและไหลมาเร็วขึ้น เป็นการเพิ่มความ
                  รุนแรงของน้ าในการท าลายและยังเป็นสาเหตุของดินถล่มด้วย นอกจากนี้ยังท าให้ดินและรากไม้ขนาดใหญ่

                  ถูกชะล้างให้ไหลลงมาในท้องน้ า ท าให้ท้องน้ าตื้นเขินไม่สามารถระบายน้ าได้ทันที รวมทั้งก่อให้เกิดการ
                  สูญเสียชีวิตและบาดเจ็บของประชาชนทางด้านท้ายน้ า(2) การขยายเขตเมืองลุกล้ าเข้าไปในพื้นที่ลุ่มต่ า
                  (Flood plain) ซึ่งเป็นแหล่งเก็บน้ าธรรมชาติท าให้ไม่มีที่รับน้ า ดังนั้นเมื่อน้ าล้นตลิ่งก็จะเข้าไปท่วมบริเวณที่

                  เป็นพื้นที่ลุ่มต่ าซึ่งเป็นเขตเมืองที่ขยายใหม่ก่อน (3)การก่อสร้างโครงสร้างต่างๆ ขวางทางน้ าธรรมชาติท าให้มี
                  ผลกระทบต่อการระบายน้ าและก่อให้เกิดปัญหาน้ าท่วม (4) การออกแบบทางระบายน้ าของถนนไม่เพียงพอ
                  ท าให้น้ าล้นเอ่อในเขตเมือง ท าความเสียหายให้แก่ชุมชนเมืองใหญ่ เนื่องจากการระบายได้ช้ามาก
                  (5)การบริหารจัดการน้ าที่ไม่ดีเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท าให้เกิดน้ าท่วมโดยเฉพาะบริเวณด้านท้ายเขื่อนหรืออ่าง
                  เก็บน้ า

                                   (2)  ลักษณะของการเกิดอุทกภัยมีหลายลักษณะหลายประเภท ที่พบอยู่เสมอๆ ได้แก่
                                       -  น้ าท่วมหรือน้ าขัง เกิดจากปริมาณน้ าที่สะสมจ านวนมากไหลเข้าท่วม อาคาร
                  บ้านเรือน ไร่นา พื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหาย มักเกิดจากฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน หรือ

                  อาจเกิดจากน้ าทะเลหนุนสูง
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138