Page 47 - pineapple
P. 47

2-37





                  ตารางที่ 2-7 เนื้อที่ปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตรวม และผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ปี พ.ศ. 2554-2563


                                           เนื้อที่ปลูก   เนื้อที่เก็บเกี่ยว   ผลผลิตรวม  ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่(กก.)
                           ปี พ.ศ.
                                             (ไร่)        (ไร่)        (ตัน)     เนื้อที่ปลูก  เนื้อที่เก็บเกี่ยว
                           2554            659,625      646,331      2,593,207    3,931       4,012
                           2555            624,979      619,565      2,400,187    3,840       3,874

                           2556            584,473      573,120      2,209,351    3,780       3,855
                           2557            476,096      452352       1,916,830    4,026       4,237

                           2558            455,371      446,771      1,825,195    4,008       4,085
                           2559            473,871      461959       1,843,126    3,890       3,990

                           2560            565,687      557,958      2,328,378    4,116       4,173
                           2561            575,580      568,394      2,350,887    4,084       4,136

                           2562            474,287      466,497      1,679,668    3,541       3,601
                           2563            433,716      427,209      1,504,359    3,469       3,521

                           เฉลี่ย          532,369      522,016      2,065,119    3,869       3,948
                     อัตราการเปลี่ยนแปลง     -3.12       -3.04         3.86        0.77        0.85
                          (ร้อยละ)

                  ที่มา :  สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2556, 2559, 2562)

                       สําหรับจังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุด 3 อันดับแรก ในปี พ.ศ.2563 คือ จังหวัด

                  ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี และระยอง โดยมีเนื้อที่ปลูกสับปะรดร้อยละ 38.05 9.06 และ 7.16 ของเนื้อที่ปลูก
                  ทั้งหมด ตามลําดับเช่นเดียวกับจังหวัดที่มีเนื้อที่เก็บเกี่ยวมากสุด 3 อันดับแรก ในปีพ.ศ. 2563 คือ
                  จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี และระยอง โดยมีเนื้อที่เก็บเกี่ยวสับปะรดร้อยละ 38.25 9.12 และ 7.18
                  ของเนื้อที่เก็บเกี่ยวทั้งหมด ตามลําดับ แต่ผลผลิตรวมจังหวัดประจวบคีรีขันธ์และระยองยังคงมีปริมาณ
                  มากเป็น 2 อันดับแรก คิดเป็นร้อยละ 39.05 และ10.79 ของปริมาณผลผลิตรวมทั้งหมด จังหวัดที่มี

                  ผลผลิตรวมมากเป็นอันดับ 3 คือ จังหวัดราชบุรี คิดเป็นร้อยละ 7.54 (ตารางที่ 2-8)




























                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจสับปะรดโรงงาน                          กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52