Page 31 - oil palm
P. 31

จึงทําใหที่ราบนี้มีความสม่ําเสมอขนานไปกับชายทุง เราจึงอาจเรียกพื้นที่ดังกลาวนี้วา “ลาดราบ” ปกติพื้นที่

               ลาดชายทุงดั้งเดิมที่เปนธรรมชาติในอดีตเปนบริเวณที่มีปาไมขึ้นหนาทึบ เนื่องจากบริเวณที่มีน้ําในดินที่ระบาย
               จากที่ลาดเชิงเขามาสูที่ราบซึมซาบมาตลอดปจึงทําใหมีพืชพรรณหนาแนนและเขียวตลอดป ปจจุบันเนื่องจาก

               พื้นที่ดังกลาวเปนถิ่นที่อาศัยของผูคนยานภาคกลางมานาน จึงไมพบเห็นปาไมแตจะเห็นเปนทองทุง บางครั้งจะ

               เห็นมีตนไมเหลืออยูบาง พื้นที่นาดังกลาวมักเปนนาดอน ซึ่งสมัยกอนเรียกวา นาหวาน แตปจจุบันมีระบบ
               ชลประทานมาชวย พื้นที่จึงถูกพัฒนาใชประโยชนหลายรูปแบบ เชน ทํานา ทําสวน เปนทุงเลี้ยงสัตว บางสวน

               เปนปาละเมาะ เปนทุงหญา เปนตน

                      สันดอนฝงแมน้ํา  เปนที่ดอนอีกประเภทหนึ่งซึ่งมีระดับสูงกวาบริเวณใกลเคียง ซึ่งเปน

               ที่ราบในภาคกลาง ที่ดอนในที่นี้มีแนวยาวขนานไปกับสองฝงลําน้ํา เรียกวา “สันดอนฝงแมน้ํา” หรือ “คันดิน
               ธรรมชาติ” (Natural Levee) เวลาน้ําหลากหรือน้ําทวมทุงในชวงปลายฤดูฝน สันดอนฝงแมน้ําจะไมถูกน้ําทวม จึง

               ถือเปนภูมิปญญาทองถิ่นภาคกลางที่รูจักเลือกสรางบานเรือนบนสันดอนฝงแมน้ํามาแตดั้งเดิม สมัยกอนจึง

               มักพบบานเรือนของคนภาคกลางอยูริมฝงแมน้ําทุกแมน้ําและรอบๆ ดานบนสันดอนฝงแมน้ํามักจะเปนที่ปลูก

               ไมผลชนิดตางๆ เชน มะพราว หมาก มะมวง ขนุน ไมไผ เปนตน
                   (4) ภูมิประเทศภูเขา

                     ภาคกลางไดชื่อวา เปนดินแดนแหงที่ราบ ดังนั้นเมื่อพูดถึงภูมิประเทศที่เปนภูเขา จึงดู

               เหมือนวามีนอยกวาภูมิภาคอื่นๆ แตภูมิประเทศที่เปนภูเขาในภาคกลางมีปรากฏใหเห็นโดยรอบของขอบที่ราบ
               ภาคกลาง ซึ่งสวนหนึ่งเปนของขอบที่ราบสูงโคราช ในสวนที่เปนภูเขาของภาคกลางเองสวนใหญอยูใน

               พื้นที่จังหวัดพิษณุโลก เพชรบูรณ ลพบุรี สระบุรี และนครนายก ซึ่งอยูฝงดานตะวันออกของที่ราบ สวนขอบ

               ดานตะวันตกของที่ราบจะมีพื้นที่ภูเขาปรากฏใหเห็นในเขตจังหวัดสุโขทัย กําแพงเพชร นครสวรรค อุทัยธานี
               และสุพรรณบุรี ลักษณะภูเขาของภาคกลางพอสรุปไดดังนี้

                     ภูเขาโดด เปนลูกเขาเล็กๆ หรือกลุมภูเขาเล็กๆ กระจายอยูตามขอบที่ราบภาคกลางโดยรอบ

               และมีแนวผานกลางที่ราบในเขตจังหวัดลพบุรี-นครสวรรคที่เรียกวา ที่ดอนเขาโดด “ตากฟา-ตาคลี-พยุหะคีรี-

               นครสวรรค”  สวนใหญภูเขาโดดเหลานี้จะมีความสูงไมมาก เนื่องจากเปนภูเขาของหินรุนเกาประเภทหินแปร
               หรือไมก็หินอัคนีพุที่แทรกซอนขึ้นมาจะมีหินตะกอนบางประเภทหินปูนและหินทราย แตก็เปนภูเขาเตี้ยๆ ที่

               ไมไดถูกยกหรือดันตัวใหสูงขึ้นเหมือนภูเขาภาคอื่นๆ คงเหลือเปนซากเตี้ยของภูเขาที่เหลือจากการสึกกรอน

               เปนสวนใหญ เชน กลุมเขาวงพระจันทร กลุมเขาวังเปล กลุมเขากลอยใจ กลุมเขาสอยดาว กลุมเขาหินกลิ้ง

               กลุมเขาคอก กลุมเขาวง กลุมเขาสนามชัย กลุมเขาหลวง เปนตน
                     เทือกเขาสูง ในภาคกลางจะอยูในเขตภาคกลางตอนบน ที่ดูเปนเทือกเขาเปนทิวเขา ไดแก

                    เทือกเขาเพชรบูรณตะวันตก (เขตเพชรบูรณ-พิษณุโลก) ในเขตจังหวัดพิษณุโลกและเพชรบูรณ

               วางตัวยาวเหนือ-ใต ลงมาถึงเขตจังหวัดลพบุรี เทือกเขานี้มีความสําคัญในฐานะที่เปนตนน้ําลําธารของแม
               น้ําปาสักสวนหนึ่งและบางสวนของลําน้ําสาขาของแมน้ํานาน เชน แมน้ําวังทอง แมน้ําแควนอย ในเขต
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36