Page 29 - oil palm
P. 29

ที่ราบภาคกลางตอนบนและที่ราบภาคกลางตอนลาง ที่ราบผืนนี้อยูภายใตอิทธิพลการทับถมของตะกอนจาก

               ลําน้ําใหญ 4 สาย คือ เจาพระยา ทาจีน แมกลอง และบางปะกง แมน้ําดังกลาวเอาตะกอนน้ําจืดมาทับถมอยูบน
               ตะกอนน้ํากรอยและตะกอนน้ําเค็มของพื้นที่ซึ่งเคยเปนทะเลเกามากอน ดังนั้นในพื้นที่ราบภาคกลางตอนลาง

               จึงสามารถแบงไดเปน 2 สวน โดยใชแนวชายฝงทะเลเกาเปนแนวแบง คือ ที่ราบภาคกลางตอนลางสวนบน (ที่

               ราบชายฝงทวาราวดี) กับที่ราบภาคกลางตอนลางสวนลาง (ที่ราบชายฝงสามสมุทร) แนวชายฝงเกาที่พอหา
               แนวไดโดยประมาณ โดยสังเกตตําแหนงที่ตั้งของเมืองเกาสมัยทวาราวดีเปนแนวได เพราะเมืองเหลานี้

               พัฒนามาจากชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานเกาที่ไมหางจากชายฝงโบราณมากนัก เมืองเหลานั้นไดแก เมืองที่ลงทายดวยคํา

               วา “บุรี”  เชน กุยบุรี ปราณบุรี เพชรบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สิงหบุรี พรหมบุรี ลพบุรี สระบุรี

               ปราจีนบุรี ชลบุรี และจันทบุรี แนวที่ลากเชื่อมตําแหนงที่ตั้งของเมืองเหลานี้พอจะประมาณเปนแนวชายฝง
               โบราณได โดยตําแหนงที่ตั้งอาจจะอยูหางจากชายฝงเกามากบางนอยบาง ขึ้นอยูกับลักษณะภูมิประเทศสมัย

                     ที่ราบภาคกลางตอนลางสวนบน (ที่ราบชายฝงทวารวดี) จะเปนที่ราบที่พัฒนามาจากการ

               เชื่อมตอของพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําเกา (Old Deltaic Plain) สมัยปากแมน้ําเจาพระยายังอยูแถว

               จังหวัดชัยนาทและมีแมน้ําตะวันตกของอาวเกา เชน แมน้ําสะแกกรัง หวยทับเสลา และแมน้ําดานตะวันออก
               ของอาวเกา เชน แมน้ําลพบุรี ชวยกันพาเอาตะกอนมาทับถมประสานระบบกันกลายเปนที่ราบชายฝงทวารวดี

               ครอบคลุมพื้นที่จังหวัดตางๆ ตั้งแตจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี จนถึง

               พระนครศรีอยุธยา ที่ราบดังกลาวสวนบนเปนตะกอน น้ําจืดที่มีความหนามากประกอบดวยชั้นกรวด ชั้น
               ทรายสลับดวยชั้นดินเหนียวของตะกอนยุคควอเทอรนารีหลากหลายชั้น

                      ที่ราบภาคกลางตอนลางสวนลาง (ที่ราบชายฝงสามสมุทร) เปนที่ราบที่พัฒนามาจากดิน

               ดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ําใหม (New Deltaic Plain) ของแมน้ําสําคัญทั้ง 4 สาย คือ เจาพระยา บางปะกง ทาจีน และ
               แมกลอง สวนลึกของที่ราบสวนนี้เปนตะกอนน้ํากรอยและน้ําเค็ม ในอดีตสวนบนจะเปนตะกอนน้ําจืดของแมน้ํา

               ทั้ง 4 สาย ที่มาทับถมในลักษณะของที่ราบน้ําทวมถึง (Flood  Plain)  อยูบนตะกอนน้ํากรอยของที่ราบดินดอน

               สามเหลี่ยมปากแมน้ํา (Deltaic Plain) ซึ่งอยูขางลาง ที่ราบนี้ครอบคลุมพื้นที่บางสวนของจังหวัดสุพรรณบุรี

               พระนครศรีอยุธยา นครนายก ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี ปทุมธานี กรุงเทพฯ นนทบุรี นครปฐม สมุทรสงคราม
               สมุทรสาคร และสมุทรปราการ มีหลักฐานหลายอยางที่แสดงวาเปนตะกอนน้ําเค็มและน้ํากรอยอยูขางลาง เชน

               แรไพไรต สารจาโรไซต แรยิปซัม และเปลือกหอยทะเล เปนตน

                      ที่ราบหุบเขาเพชรบูรณ คือ ที่ราบที่อยูระหวางเทือกเขาเพชรบูรณตะวันออกและเพชรบูรณ

               ตะวันตก ซึ่งมีแมน้ําปาสักไหลจากทิศเหนือลงสูทิศใตวางตัวเปนแนวขนานอยูกลางหุบเขา พื้นที่ราบ
               ดังกลาวเปนที่ราบอยูฝงน้ําของแมน้ําปาสัก เปนที่ราบแคบๆ ในบางชวง กวางในบางชวง โดยรวมของที่ราบ

               ในหุบเขานี้จะเปนที่ราบดอนมากกวาที่ราบลุม พื้นที่บางสวนเปนเนินเปนโคกและเปนที่ราบเชิงเขา บางสวนเปน

               หยอมเขาโดดของหินอัคนีพุชนิดหินบะซอลต หินแอนดีไซตและหินไรโอไลต ดังนั้นที่ราบในหุบเขา
               เพชรบูรณจึงมีพื้นที่ปลูกพืชไรมากกวาพื้นที่ทํานา ดินตะกอนที่อยูในที่ราบจะอุดมสมบูรณ เพราะเปนดิน

               ตะกอนใหมๆ ที่ถูกพัดมาโดยลําน้ําซึ่งเปนสาขาของแมน้ําปาสัก ไหลมาจากตนน้ําบริเวณภูเขาทั่งดาน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34