Page 26 - oil palm
P. 26

กวี (2547) ภาคตะวันออกของประเทศไทยเปนภูมิภาคที่มีภูมิประเทศทุกรูปแบบตั้งแตภูเขาสูง

               จนถึงทะเลลึก มีภูมิอากาศทั้งรอนชื้นแบบมรสุมและรอนชื้นแบบศูนยสูตร มีลักษณะธรณีที่ปรากฏ
               หินแกรนิตเดน มีสายน้ําตางๆ ที่มีทิศทางการไหลออกในทุกทิศทาง และมีปาไมสวนใหญเปนปาดิบแลง โดย

               มีปาดิบชื้นบริเวณเขตฝนตกชุก ภาคตะวันออกอยูระหวางละติจูด 11°35´-14°27´เหนือ และลองจิจูด 100°49´-

               102°56´ ตะวันออก รูปรางของภาคตะวันออกมีลักษณะกะทัดรัด นั่นคือถาวัดระยะจากจุดศูนยกลางออกไปยัง
               จุดตางๆ ที่เปนบริเวณชายขอบจะมีระยะทางใกลเคียงกันโดยธรรมชาติถือวามีภูมิลักษณเริ่มตนที่ดี เขตภูมิ

               ประเทศสําคัญมีดังนี้

                    (1) ภูมิประเทศภูเขา

                     มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางตั้งแต 500 เมตรขึ้นไป ในภาคตะวันออกมีภูเขาสูงอยู 3
               บริเวณ ไดแก

                     แนวภูเขาสูงตอนเหนือ เปนเขตติดตอกับขอบที่ราบสูงโคราชในพื้นที่ของจังหวัด

               ปราจีนบุรีและสระแกว พื้นที่ภูเขาสูงบริเวณนี้อยูแนวของเทือกเขาสันกําแพงที่มีทิวเขาอยูหลายทิว ในแต

               ละทิวจะมียอดเขาอยูหลายยอด ภูเขาสําคัญ เชน เขาเขียว เขาละมั่ง เขาบรรทัด ฯลฯ ที่ลวนแตเปนภูเขาหินทราย
               ซึ่งจะมีลักษณะเปนภูเขายอดราบคลายกับสัณฐานภูเขาสวนใหญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ภูเขาบริเวณนี้

               เปนเขตแลงยาวนานแตกลับเปนแหลงตนน้ําและพื้นที่ปาไมที่สําคัญ เนื่องจากไดรับความชื้นจากเมฆที่ลอย

               ปะทะกับหนาเขา โดยบริเวณสันเขาจะปรากฏปาดิบเขาและปาดิบแลง ขณะที่ตามรองเขาหรือหุบเขาจะเปน
               ปาดิบชื้น

                      กลุมภูเขาสูงตอนกลาง ไดแก กลุมภูเขาที่อยูในเขตจังหวัดจันทบุรี หยอมเขาที่อยูในเขต

               ติดตอระหวางจังหวัดระยอง ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา และสระแกว ยอดเขาที่สูงที่สุดของภาคตะวันออก คือ เขา

               สอยดาวใต ที่มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 1,670 เมตร อยูในพื้นที่ภูเขาสูงเขตนี้ดวยการที่ภูเขาสูงบริเวณ
               นี้มีระดับสูงมาก มีตําแหนงที่ตั้งอยูเกือบจะตรงกลางของภูมิภาค จึงทําใหมีการระบายน้ําออกทุกทิศทาง และ

               แนวการวางตัวของภูเขาสูงเขตนี้ยังขวางทิศทางลมประจํา มีผลใหเกิดฝนปะทะภูเขาบริเวณหนาเขา ดังนั้น

               พื้นที่หนาเขาตั้งแตแถบอําเภอแกลง จังหวัดระยอง เรื่อยไปจนตลอดจังหวัดจันทบุรีและตราด เปนเขต
               เพาะปลูกผลไมที่สําคัญและพื้นที่ภูเขาสูงบริเวณนี้สวนใหญมีหินฐานเปนหินอัคนีภายในชนิดหินแกรนิต

                      แนวภูเขาสูงดานตะวันออก ไดแก พื้นที่ของเทือกเขาบรรทัดที่ถูกกําหนดใหเปนพรมแดน

               ธรรมชาติกับกัมพูชา โดยวางตัวในแนวเหนือ-ใต ทําใหขวางทิศทางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต จึงทําใหมีฝนตก

               หนักและตกชุกในชวงฤดูรอน โดยเฉพาะที่อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด จะมีปริมาณฝนมาก สงผลใหสวน
               ใหญปกคลุมดวยปาดิบชื้นและภูเขาเขตนี้มีหินฐานเปนหินทรายของกลุมหินโคราช

                   (2) ภูมิประเทศลาดเชิงเขาและลูกเนิน

                     มีความสูงจากระดับน้ําทะเลปานกลางระหวาง 200-500 เมตร จําแนกเปน 2 เขตยอย ไดแก
                     ภูมิประเทศลาดเขาเตี้ยและลูกเนิน  บริเวณชลบุรี-ระยอง สัมพันธกับลักษณะทางธรณีหิน

               อัคนีภายในชนิดหินแกรนิต และหินแปรชนิดหินไนสเปนพื้นที่ที่อยูถัดจากชายฝงเขามา โดยบริเวณนี้มี
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31