Page 30 - oil palm
P. 30

ตะวันออกและดานตะวันตกของทั้งสองฝง ซึ่งมีการผุสลายและถูกพัดพามาเปนตะกอนใหมอยูในลุมน้ํา

               ตลอดเวลา
                   (2) ภูมิประเทศที่ลุม

                      พื้นที่ลุมโดยธรรมชาติ คือ พื้นที่ซึ่งมีน้ําขังเกือบทั้งปหรือเปนชวงระยะเวลาหนึ่งในรอบป

               หรือเปนบางเวลา พื้นที่ภาคกลางซึ่งเปนพื้นที่ซึ่งมีระดับต่ําจะเปนที่รองรับน้ําและตะกอนที่มากับน้ํา ในที่

               ราบดังกลาวจะมีแองแทรกสลับอยูบริเวณกลางทุง แองเหลานี้เราเรียกวา หนองหรือบึง  แตที่ราบภาคกลาง
               ตอนบนบางครั้งเรียกวา วัง  หนองบึงในทองทุงจะรับน้ําที่เออลนจากแมน้ําในชวงน้ําหลากและขังไวจนถึงชวง

               แลง เราจึงเรียกที่ลุมน้ําขังนี้วา ที่ลุมน้ําหลากหรือที่ลุมน้ําจืดหรือที่ลุมแมน้ํา  บางบริเวณเปนพรุน้ําจืด บริเวณที่

               ลุมน้ําหลากโดยธรรมชาติมักมีวัชพืชประเภทพืชน้ําขึ้นปกคลุมอยูทั่วไป เชน ผักตบชวา แหน ตนกก ตนออ

               และหญาน้ําชนิดตางๆ แตปจจุบันเมื่อระบบลําน้ําตางๆ ถูกควบคุมดวยระบบชลประทาน น้ําที่เออลนตาม
               ธรรมชาติถูกเปลี่ยนระบบไปบางจึงทําใหหนอง บึงตื้นเขิน มีการพัฒนาขุดลอกเพื่อใชประโยชนอยางอื่น

                      บริเวณภาคกลาง ยังมีที่ลุมน้ําขังอยางสม่ําเสมออีกบริเวณหนึ่ง คือ บริเวณใกลชายฝงทะเล

               ที่ลุมบริเวณนี้จะรับน้ําทะเลที่เออลนเขามายามชวงเวลาที่ “น้ําขึ้น”  และจะแหงในเวลา “น้ําลง”  จึงเปน
               บริเวณน้ําขึ้นลงที่เห็นไดทุกวัน เราจึงเรียกที่ลุมนี้วา “ที่ลุมชายฝง” หรือ “ที่ลุมน้ําเค็ม”  หรือ “ที่ลุมน้ํากรอย”

               บริเวณดังกลาวโดยธรรมชาติจะมีพืชพรรณน้ําเค็มและน้ํากรอยขึ้นอยูมากมาย ทั้งพืชยืนตน พืชลมลุก เชน

               ตนจาก โกงกาง เสม็ด แสม ลําพู ลําแพน ตะบูน ตะบัน ปอทะเล สารภีทะเล โพทะเล ตีนเปดทะเล จิกทะเล
               เปนตน ปจจุบันพื้นที่ลุมน้ําชายฝงถูกบุกรุก ถากถาง เปลี่ยนแปลงเปนพื้นที่ทําฟารมน้ํากรอย น้ําเค็ม เปน

               บอตกกุง บอปลา ซึ่งสรางปญหาใหกับพื้นที่ชายฝงทั้งปจจุบันและอนาคต

                   (3) ภูมิประเทศลาดดอน

                     ภูมิประเทศลาดดอน คือ บริเวณพื้นที่ที่แทรกอยูระหวางแนวชายขอบภูเขากับขอบที่ราบ
               โดยรอบที่ราบภาคกลางตอนบนและที่ราบภาคกลางตอนลางมีแนวพื้นที่ซึ่งปกติน้ําจะไมขัง พื้นที่ดังกลาวจะ

               รับน้ําจากลาดไหลเขาระบายสูที่ราบลุม จึงเรียกพื้นที่ดังกลาววาเปนพื้นที่ลาดดอน ซึ่งพื้นที่ลาดดอนจะมี 2

               ลักษณะสําคัญ คือ ลาดเชิงเขา กับ ลาดชายทุง

                     พื้นที่ลาดเชิงเขา จะมีความลาดมากกวาลาดชายทุง คือ พื้นที่สวนที่อยูติดชายขอบเขา ปกติจะ
               มีรองน้ําไหลระบายเปนเสนตรงในทิศทางเดียวกับความลาด รองน้ําไหลนั้นมักจะทําใหที่ลาดขาดตอนจาก

               กัน กลายเปนที่ดอนที่เปนสวนๆ ตอจากนั้นพื้นที่แตละสวนดังกลาวจะพัฒนาปรับแตงรูปทรงสัณฐานเปนลูก

               เนินหรือเปนโคก บางครั้งอาจเรียกพื้นที่ดังกลาววา “ลาดลูกเนิน”  ปกติโดยธรรมชาติดั้งเดิมจะปกคลุมดวย
               ปาไมประเภทตางๆ ประเภทปาผลัดใบบนเนิน บนโคกและเปนปาดิบในบริเวณรองหรือที่ลุมระหวางเนิน

               ปจจุบันพื้นที่ดังกลาวมักถูกถางเปนพื้นที่ทําไร เชน ไรขาวโพด ไรออย ไรขาวฟาง ไรทานตะวัน ไรสับปะรด

               เปนตน ในบางพื้นที่พัฒนาเปนสวนผลไม เชน สวนมะมวง ขนุน เปนตน และบางพื้นที่ทําเปนทุงปศุสัตว
                     พื้นที่ลาดชายทุง  เปนพื้นที่ที่อยูถัดจากที่ลาดเชิงเขาตอกับพื้นที่ราบ (ทองทุง) ปกติรองน้ําที่ไหล

               ผานสูที่ราบหรือทองทุงจะไมพัฒนาในทางลึกมากนัก จึงทําใหภูมิประเทศเหลานี้ไมถูกแบงเปนเนินเปนโคก
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35