Page 35 - oil palm
P. 35
ใหพืชพรรณธรรมชาติสวนใหญมีลักษณะเปนปาดิบชื้น หรือปารอนชื้นหรือปาฝน ซึ่งเปนปาไมไมผลัดใบและมี
ความหลากหลายทางชีวภาพสูง
2.2.2 ภาคตะวันออก
กวี (2547) ภาคตะวันออกเมื่อพิจารณาจากองคประกอบอุตุนิยมวิทยา ไดแก อุณหภูมิ ความกด
อากาศ ความชื้น เมฆ หยาดน้ําฟา และลม เปนภูมิภาคที่มีภูมิอากาศรอนชื้นศูนยสูตรและรอนชื้นมรสุม ภูมิอากาศ
ภาคตะวันออกจําแนกตามเขตตางๆ ไดดังนี้
(1) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบศูนยสูตร–ชื้นตลอดป มีฝนตกหนักฤดูรอน ไดแก พื้นที่ตั้งแต
อําเภอแกลง จังหวัดระยอง ไปจนตลอดจังหวัดจันทบุรีและตราด ทั้งที่อยูในแผนดินถัดจากชายฝงเขามาและ
กลุมเกาะในแถบนี้ทั้งหมด เขตนี้เปนเขตที่มีฝนตกชุกเฉลี่ยตก 8-10 เดือนในรอบปและมีปริมาณฝนเฉลี่ย
มากกวา 3,200 มิลลิเมตรตอป ทําใหอากาศชื้นและแผนดินชุมตลอดป เปนเขตที่มีฝนตกหนักในฤดูรอน ซึ่ง
ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่กําเนิดในบริเวณความกดอากาศสูงในซีกโลกใต ซึ่งเปนลมที่
พัดเอาความชุมชื้นมาตกเปนฝนในพื้นที่ประเทศไทยโดยรวมตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมไปจนถึงกลางเดือน
ตุลาคม เมื่อพัดเขาสูภาคตะวันออกจะมีฝนตกมากตามบริเวณชายฝงและดานหนาเขาของทิวเขาสอยดาวและ
เทือกเขาบรรทัด เงื่อนไขทางภูมิอากาศดังกลาว ทําใหพื้นที่บางสวนของแถบนี้ปรากฏปาดิบชื้นและปาดิบเขา
และยังทําใหปรากฏดินในอันดับดินออกซิซอลส ซึ่งเปนดินในเขตฝนตกชุกเปนบริเวณกวางขวางที่สุดบริเวณ
หนึ่งของประเทศไทย
(2) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-ชื้นมาก มีฝนหนัก ไดแก พื้นที่หนาเขาใหญสวนหนึ่งของ
เทือกเขาสันกําแพงในเขตจังหวัดปราจีนบุรีตอนบนตอเนื่องไปถึงจังหวัดนครนายกในพื้นที่ภาคกลาง เขตนี้เปน
พื้นที่รับลมของสันเขาที่เปนสวนหนึ่งของเทือกเขาสันกําแพงจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตทําใหมีฝนตก
หนักในชวงเดือนพฤษภาคม-ตุลาคม ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณธรรมชาติเปนปาดิบชื้นและปาดิบเขาเขตนี้มีฝน
ตก 6.5-8 เดือนในรอบป และมีปริมาณฝนเฉลี่ย 1,800-2,000 มิลลิเมตรตอป
(3) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-ชื้นมาก มีฝนปานกลาง เปนเขตภูมิอากาศที่ครอบคลุมพื้นที่
มากที่สุดของภาคตะวันออกโดยกระจายเปนบริเวณกวางแถบจังหวัดระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี
และสระแกว เขตนี้มีฝนตก 6.5-8 เดือนในรอบป และมีปริมาณฝนเฉลี่ย 1,600-1,800 มิลลิเมตรตอป
ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณสวนใหญเปนปาดิบแลงมีปาเบญจพรรณบาง
(4) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-ชื้นมาก เยือกเย็นและแหงแลงแบบภูเขา ไดแก พื้นที่ของทิว
เขาสอยดาวในตอนกลางและพื้นที่เทือกเขาสันกําแพงทางตอนบนของภูมิภาค ระดับสูงของสันเขาทําใหอากาศมี
คุณสมบัติเยือกเย็น ปาไมที่ปกคลุมอยูตามยอดเขา สันเขา ชวยเปนแกนจับเมฆในบรรยากาศ ทําใหมีความชื้น
มาก และการเปนเทือกเขาและทิวเขาซึ่งมีความลาดชันมาก ทําใหการไหลบาของน้ําทา (Runoff) ตามแรงโนมถวง
ของโลกเปนไปรวดเร็วกวาการซึมซาบ จึงทําใหพื้นผิวแหง ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณธรรมชาติเปนปาดิบเขา ปา
ดิบแลง ปาเบญจพรรณ และปาประเภทอื่นๆ เขตนี้มีฝนตก 6.5-8 เดือนในรอบป และมีปริมาณฝนเฉลี่ยตั้งแต
1,600-2,600 มิลลิเมตรตอป