Page 37 - oil palm
P. 37

ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา นครปฐม สมุทรสาครและสมุทรปราการ เขตนี้มีฝนตก 5-7 เดือนในรอบป และมี

               ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,100-1,300 มิลลิเมตรตอป
                   (5) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-ชื้นปานกลาง มีฝนนอย อากาศเย็นและแหงแลง คือ บริเวณ

               พื้นที่ในหุบเขาเพชรบูรณที่แทรกตัวอยูระหวางเทือกเขาเพชรบูรณตะวันตกกับเทือกเขาเพชรบูรณตะวันออก

               โดยวางตัวในแนวเหนือ-ใตตามแนวของแมน้ําปาสัก ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณสวนใหญเปนปาดิบชื้น ปา
               เบญจพรรณชื้นและแทรกสลับดวยปาประเภทอื่นๆ เขตนี้มีฝนตก 5-7 เดือนในรอบป และมีปริมาณฝนเฉลี่ย 1,100


               - 1,300 มิลลิเมตรตอป
                   (6) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-ชื้นนอย มีฝนนอย คือ บริเวณพื้นที่จังหวัดภาคกลาง

               ตอนลางคอนไปทางขอบตะวันตก โดยครอบคลุมพื้นที่บางสวนของจังหวัดสุพรรณบุรี สิงหบุรี ชัยนาท
               อุทัยธานี และนครสวรรค ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณสวนใหญเปนปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง รวมทั้งปาหญา

               กอนที่จะถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่สวน ไร นา และที่อยูอาศัย เขตนี้มีฝนตก 4-6 เดือนในรอบป เปนเขตเงาฝนจากลม

               มรสุมตะวันตกเฉียงใต และมีปริมาณฝนเฉลี่ย 1,000-1,200 มิลลิลิตรตอป

                   (7) ภูมิอากาศแบบศูนยสูตรเขตรอน-ชื้นตลอดป-ฝนหนักฤดูหนาว  ไดแก พื้นที่ทางตอนลาง
               ของจังหวัดประจวบคีรีขันธในเขตอําเภอบางสะพานนอยและอําเภอบางสะพานบางสวน บริเวณนี้เปน

               ภูมิอากาศที่คลายคลึงกับภูมิอากาศของภาคใตฝงตะวันออก ซึ่งเปนเขตอิทธิพลของลมมรสุม

               ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดเอาความชื้นจากอาวไทยมาตกเปนฝนในชวงฤดูหนาว การที่บริเวณนี้เปนเขตที่มี
               ความชื้นตลอดปเนื่องจากมีตําแหนงที่ตั้งอยูติดกับชายฝงทะเล เขตนี้มีฝนตก 8-11 เดือนในรอบป ลักษณะ

               ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณธรรมชาติสวนใหญเปนปาดิบและปาดิบแลง

                   (8) ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอน-ชื้นมาก-ฝนนอย           ไดแก พื้นที่แถบตะวันออกของจังหวัด
               ประจวบคีรีขันธตั้งแตอําเภอบางสะพานถึงอําเภอสามรอยยอดเขตนี้มีความชื้นมาก เนื่องจากมีตําแหนงที่

               ตั้งอยูติดชายฝงทะเลมีฝนนอยเนื่องจากเปนเขตเงาฝนของเทือกเขาตะนาวศรีจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต เขตนี้

               มีฝนตก 6.5-8.0 เดือนในรอบป ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณธรรมชาติเปนปาดิบแลง ปาละเมาะ หรือปาหญา
               กอนที่จะถูกเปลี่ยนเปนพื้นที่ทําไรเปนสวนใหญ

                   (9) ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอน-ชื้นมาก-เยือกเย็นและแหงแลงแบบภูเขา  ไดแก พื้นที่ที่เปน

               เทือกเขาถนนธงชัยตอนลางและพื้นที่ของเทือกเขาตะนาวศรีทั้งหมด ตั้งแตตอนบนของภูมิภาคในเขต

               จังหวัดตากลงไปจนตลอดถึงตอนลางของภูมิภาคในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ เขตนี้มีความชื้นมาก
               เนื่องจากเปนเขตของเทือกเขาและทิวเขา ซึ่งมีตนไมปกคลุมตามสันเขาและไหลเขา ทําใหเปนแกนกลางในการ

               ตรวจจับเมฆหมอก การที่เปนเขตเยือกเย็นเพราะเปนเขตเทือกเขาและทิวเขาที่มีระดับสูงมาก จึงทําใหอากาศ

               มีคุณสมบัติเยือกเย็นและการที่แหงแลงแบบภูเขาเนื่องจากการเปนพื้นที่เทือกเขาและทิวเขาที่มีความลาดชัน
               มากทําใหน้ํา ไหลเร็วกวาการซึมซาบทําใหแหงแลงเขตฝนตก 6.5-8.0 เดือนในรอบป ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณ

               ธรรมชาติปรากฏประเภทของปาไมหลายชนิด โดยตามสันเขาเปนปาดิบเขา ปาดิบแลง ไหลเขาเปนปาดิบแลง

               เบญจพรรณ เต็งรัง เชิงเขาเปนปาเบญจพรรณเต็งรังและหุบเขาเปนปาดิบชื้น
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42