Page 36 - oil palm
P. 36

(5) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-ชื้นปานกลาง มีฝนนอย  ไดแก พื้นที่บริเวณปากแมน้ําบาง

               ประกงในเขตติดตอระหวางจังหวัดฉะเชิงเทรากับจังหวัดชลบุรี ตอเนื่องกับที่ราบภาคกลางตอนลางสวนลาง
               บางสวน เขตนี้มีฝนตก 5.5-6.5 เดือน ในรอบป และมีปริมาณฝนเฉลี่ยประมาณ 1,200-1,600 มิลลิเมตรตอป

                 2.2.3  ภาคกลาง

                    กวี (2547) ลักษณะภูมิอากาศภาคกลางของประเทศไทย เมื่อพิจารณาโดยใชองคประกอบทาง

               อุตุนิยมวิทยา 3 องคประกอบ คือ อุณหภูมิ ความชื้น และระบบลมประจํา จัดเปนเขตภูมิอากาศรอนชื้นแบบ
               มรสุม ซึ่งบงบอกถึงการอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุม 2 ชนิด ทําใหเกิดฤดูกาล 3 ฤดูกาลเชนเดียวกับ

               ภูมิภาคตางๆ แถบตอนบนของประเทศไทย เขตภูมิอากาศภาคกลางจําแนกไดดังนี้

                   (1) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-รอนมากมีฝนตกหนัก  คือ บริเวณพื้นที่รับลมหนาเขา
               ใหญ ในเขตจังหวัดนครนายกตอเนื่องกับจังหวัดปราจีนบุรีของภาคตะวันออก บริเวณนี้มีฝนตกหนักในชวง

               ฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทําใหพืชพรรณธรรมชาติสวนใหญเปนปาดิบและปาดิบเขา เขตนี้มีฝนตก 6-8

               เดือนในรอบป

                   (2) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม–ชื้นมาก มีฝนปานกลาง  คือ บริเวณพื้นที่หนาเขาของ
               เทือกเขาเพชรบูรณตะวันตกเปนแนวปะทะฝนที่วางตัวยาวจากตอนเหนือของจังหวัดพิษณุโลกผานจังหวัด

               พิจิตรดานตะวันออกจนถึงจังหวัดเพชรบูรณตอนใต อีกบริเวณหนึ่งเปนพื้นที่หนาเขาของเทือกเขาถนนธงชัย

               สวนลางบริเวณเขาขาแขง-เขาโมโกจู-เขาใหญ ในเขตจังหวัดกําแพงเพชรตอนกลางกับตอนใต และจังหวัด
               นครสวรรคดานตะวันตกและอีกบริเวณหนึ่งอยูในพื้นที่ภาคกลางตอนลางในบางสวนของจังหวัดสุพรรณบุรี

               อางทอง ลพบุรี สระบุรี นครนายกตอนกลาง ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร สมุทรสาครดานตะวันตกและ

               สมุทรปราการดานตะวันออก ภูมิอากาศทําใหพืชพรรณธรรมชาติเปนปาดิบแลง ปาเบญจพรรณ และมีปาอื่นๆ
               ปะปนอยูบาง แตปจจุบันพื้นที่ปาถูกเปลี่ยนสภาพเปนพื้นที่ใชประโยชนในการทําสวน ไร นา และถิ่นที่อยูอาศัย


               เปนสวนใหญ เขตนี้มีฝนตก 6-8 เดือน ในรอบป และมีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,400-1,700 มิลลิลิตรตอป
                   (3) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-ชื้นมาก เยือกเย็นและแหงแลงแบบภูเขา คือ บริเวณพื้นที่
               ที่เปนสันเขาสูงตามขอบที่ราบภาคกลางทั้งดานตะวันออกและดานตะวันตก โดยดานตะวันตกเปนสันเขาสูง

               ตามแนวเทือกเขาถนนธงชัยสวนลาง ดานตะวันออกตามแนวเทือกเขาเพชรบูรณตะวันตกและตะวันออก การ

               เปนเทือกเขาที่มีระดับสูงมากทําใหอากาศเยือกเย็น ระดับสูงของยอดเขาที่ปกคลุมดวยปาไมจะชวยเปนแกน

               จับเมฆทําใหมีความชื้นมากและการเปนสันเขาที่มีความลาดชันทําใหน้ําไหลคอนขางเร็ว ไมเก็บกักน้ําจึงทําให
               พื้นผิวดินและหินแหงเร็ว ภูมิอากาศและภูมิประเทศทําใหปรากฏปาสน ปาดิบเขา ปาดิบแลงบนยอดหรือสันเขา

               ไหลเขาปรากฏปาดิบแลงกับปาเบญจพรรณ เชิงเขาเปนปาเต็งรัง และหุบเขาที่มีความชื้นสูงเกือบทั้งปเปนปาดิบ

               ชื้น เขตนี้มีฝนตก 6.5-9 เดือนในรอบป และมีปริมาณฝนตกเฉลี่ย 1,300-1,600 มิลลิเมตรตอป

                   (4) ภูมิอากาศแบบรอนชื้นแบบมรสุม-ชื้นปานกลาง มีฝนนอย คือ บริเวณพื้นที่ตอนในของจังหวัด
               ภาคกลางเปนแนวยาวตั้งแตจังหวัดสระบุรีดานตะวันออกผานลพบุรี เพชรบูรณตอนใต นครสวรรค

               กําแพงเพชร จนถึงสุโขทัยในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต และอีกบริเวณอยูในพื้นที่บางสวน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41