Page 34 - oil palm
P. 34

2.2  สภาพภูมิอากาศ

                 2.2.1  ภาคใต

                    กวี ( 2547) ลักษณะภูมิอากาศของภาคใต คอนขางจะเปนเอกลักษณแตกตางจากภูมิภาคอื่นๆ ของ

               ประเทศไทย นั่นคือในรอบ 1 ป จะมีอยูเพียง 2 ฤดูกาล โดยไมมีฤดูหนาว เปนภูมิภาคที่มีฝนเฉลี่ยทั้งปมากกวา
               ภูมิภาคอื่นๆ มีพิสัยของอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธระหวางวันและฤดูกาลนอยจึงสงผลใหพืชพรรณ

               ธรรมชาติสวนใหญเปนปาดิบชื้น มีผลตอการดําเนินชีวิตและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของคนที่อาศัยอยูภายใน

               ภาคใต
                    ความแตกตางจากภูมิภาคอื่นๆ ของภูมิอากาศภาคใตมีสาเหตุหรือถูกกําหนดมาจากหลาย

               ปจจัย ไดแก ปจจัยตําแหนงที่ตั้ง ที่อยูในละติจูดต่ําที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่นๆ โดยอยูในชวง

               ละติจูด 6 องศาเหนือถึง 11 องศาเหนือ ซึ่งอยูใกลเสนศูนยสูตร ทําใหมุมในการรับแสงจากดวงอาทิตยทํา
               มุมเฉียงนอยกวา เปนผลใหภาคใตไมปรากฎฤดูหนาวที่แทจริงเหมือนภูมิภาคอื่นๆ โดยมีเพียงฤดูฝนและฤดู

               รอน จนถูกเรียกวา “ดินแดนฝนแปดแดดสี่”  ความเปนคาบสมุทรที่แคบ ยาว ขนาบดวยทะเลทั้งสองดานและ

               อิทธิพลของลมมรสุมประจําป คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตและตะวันออกเฉียงเหนือ สงผลใหภาคใตมีฝนตก

               เฉลี่ยตลอดทั้งป ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยทั้งปมากกวาภูมิภาค พิสัยของอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธระหวางวัน
               และฤดูกาลนอย เมื่อเปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่น โดยในฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเปนลมหนาว แหง

               ที่พัดมาจากแผนดิน ในชวงกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ ขณะเคลื่อนตัวผานทะเลอาวไทยก็จะนําเอา

               ความชื้นมาดวย เมื่อปะทะกับภูเขาสูงทั้งเทือกเขาภูเก็ต เทือกเขานครศรีธรรมราชและเทือกเขาสันกลาคีรี ทํา

               ใหมีฝนตกมาในดานหนาของภูเขาคือ ภาคใตดานชายฝงตะวันออก ขณะที่ดานตะวันตกหรือดานหลังของ
               ภูเขาสูงก็จะมีฝนตกนอยกวา เรียกฝนที่เกิดในลักษณะนี้วา ฝนจากมวลอากาศปะทะภูเขาและมรสุมที่เกิด

               ในชวงกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตเปนลมที่พัดเอามวลอากาศ

               ชื้นมาจากมหาสมุทรอินเดีย โดยเคลื่อนตัวเขาสูประเทศไทยดานตะวันตกเฉียงใต ซึ่งก็คือดานชายฝงทะเลอันดา
               มันของภาคใตนั่นเอง เมื่อลมมรสุมนี้ปะทะกับเทือกเขาสูงทั้ง 3 เทือกดังกลาวก็จะทําใหภาคใตดานชายฝงอัน

               ดามันซึ่งเปนดานรับลมจะมีฝนตกมากกวาชายฝงอาวไทยซึ่งเปนดานหลังเขา โดยเฉพาะบริเวณอําเภอเมือง

               ระนอง และอําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงาเปนบริเวณที่มีฝนตกมากที่สุดของประเทศไทยบริเวณหนึ่ง
                    ดังนั้นเมื่อพิจารณาตามตําแหนงที่ตั้งและอิทธิพลของลมมรสุม ทําใหสามารถแบงภูมิอากาศของ

               ภาคใตไดเปน 2 ลักษณะคือ

                   (1) ภูมิอากาศแบบศูนยสูตรเขตรอนชื้นตลอดทั้งป มีฝนตกหนักในฤดูรอน โดยไดรับอิทธิพลของลม
               มรสุมตะวันตกเฉียงใต ลักษณะภูมิอากาศแบบนี้พบในดานตะวันตกหรือดานชายฝงอันดามัน ไดแก จังหวัด

               ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล

                   (2) ภูมิอากาศแบบศูนยสูตรเขตรอนชื้นตลอดทั้งป มีฝนตกหนักในฤดูหนาว โดยไดรับอิทธิพล

               ของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือลักษณะภูมิอากาศแบบนี้พบในบริเวณภาคใตชายฝงอาวไทยหรือดาน
               ตะวันออกไดแก จังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปตตานี ยะลา และนราธิวาส ทํา
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39