Page 28 - oil palm
P. 28

เชน ปากน้ําจันทบุรี ปากน้ําเวฬุ เปนตน ชายฝงบริเวณนี้อุดมไปดวยปาชายเลน ซึ่งเปนแหลงอนุบาลตัวออนของ

               สัตวน้ํา จึงเหมาะที่จะเปนแหลงประมงทั้งชายฝงและนอกชายฝง และแหลงเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา
                      ภูมิประเทศกลุมเกาะชางและกลุมเกาะนอกชายฝงจตุมุข  โดยกลุมเกาะชางประกอบดวยเกาะ

               ขนาดใหญ 2 เกาะ คือ เกาะชางและเกาะกูด อีกทั้งยังมีเกาะขนาดเล็กอีกมากมาย กลุมเกาะชางวางตัวในแนว

               ตะวันตกเฉียงเหนือและตะวันออกเฉียงใต ขณะที่กลุมเกาะนอกชายฝง ประกอบดวยเกาะที่สําคัญ ไดแก เกาะ

               สีชัง เกาะลาน เกาะไผ และเกาะคราม รวมทั้งเกาะขนาดเล็กอื่นๆ อีกหลายเกาะ ดวยระยะทางที่อยูไมหางจาก
               แผนดินมากนักและมีหาดทรายที่สวยงามทําใหกลุมเกาะทั้ง 2 เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของภูมิภาค

               ตะวันออก

                 2.1.3  ภาคกลาง

                    กวี (2547) ภาคกลางของประเทศไทยมีภูมิประเทศเปนที่ราบผืนใหญที่มีภูเขาสูงลอมรอบทุกดาน
               ยกเวนดานใต ทําใหมีระบบลุมน้ําที่เปนศูนยกลางของสายน้ําจากทิศทางตางๆ ลักษณะทางธรณีที่สําคัญ

               เกี่ยวกับตะกอนน้ําจืดและตะกอนน้ํากรอย เงื่อนไขของระบบธรรมชาติดังกลาวทําใหภาคกลางของประเทศ

               ไทยมีวัฒนธรรม รัฐกิจและสังคมที่เปนเอกลักษณ เชน เปนอูขาวอูน้ําของประเทศ เปนศูนยกลาง
               เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง รวมทั้งเปนถิ่นที่ตั้งของเมืองหลวงทุกเมืองตั้งแตสุโขทัยจนถึงกรุงเทพฯ ภาค

               กลางอยูระหวางละติจูด 12°39´-17°46´เหนือ และลองจิจูด 98°55´-101°52´ ตะวันออก ภูมิประเทศที่สําคัญจําแนก

               ไดดังนี้
                   (1) ภูมิประเทศที่ราบ

                     ที่ราบภาคกลางตอนบน คือ พื้นที่ราบในเขตจังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก กําแพงเพชร พิจิตร

               และนครสวรรค อยูในเขตบริเวณธรณีทับถมตะกอนน้ําจืดยุคเทอรเชียรีและควอเทอรนารี ที่ราบผืนนี้อยูในเขต

               อิทธิพลของตะกอนลําน้ําปง ยม และนาน การทับถมของลําน้ําสายหลักและสาขา ทําใหเกิดภูมิประเทศซึ่งเปน
               ที่ราบเปนบริเวณกวางขวาง ซึ่งในรายละเอียดยังสามารถจําแนกเปนเขตยอยๆ ตามลักษณะการทับถมอีก

               เชน บริเวณที่ราบลุมสองฝงลําน้ํายมและนาน บริเวณที่ราบเนินตะกอนรูปพัด กําแพงเพชร บริเวณที่ลาดเชิงเขา

               ตะวันตก บริเวณที่ลาดเชิงเขาตะวันออก แตพิจารณาโดยรวมภูมิประเทศที่ราบภาคกลางตอนบนเปนเขตภูมิ

               ประเทศที่ทําใหจังหวัดตางๆ คือ สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค และกําแพงเพชร มีวิถีชีวิต
               ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมที่เกี่ยวของใกลเคียงกัน รูปแบบของพื้นที่เปนที่ราบลุมอยูตรงกลาง

               พื้นที่วางตัวยาวแนวเหนือใต ถัดขึ้นไปทางตะวันออกและตะวันตกเปนที่ราบดอน ถัดขึ้นไปอีกจะเปนที่

               สูงขึ้นเปนลาดเชิงเขาทางตะวันออกและตะวันตก และทายสุดเปนแนวเทือกเขาขนาบอยูทั้งดานตะวันออก
               และตะวันตก ที่ราบภาคกลางตอนบนนี้สวนใหญเปนตะกอนน้ําจืดที่พัดมาโดยลําน้ํา ในแองที่ราบมีบึงน้ําจืด

               ขนาดใหญอยูตอนใตสุดของขอบแอง คือ “บึงบอระเพ็ด” ในเขตจังหวัดนครสวรรค เปนบึงที่ถือวาเปนจุด

               ต่ําสุดของพื้นที่ภาคกลางตอนบน เปนที่รวมของลําน้ําสายหลักและสายยอย
                     ที่ราบภาคกลางตอนลาง คือ พื้นที่ใตจังหวัดนครสวรรคลงมาหรือตั้งแตจังหวัดอุทัยธานีลง

               มา (ถึงชายฝงกนอาวไทย) โดยมีแนวที่ดอนเขาโดด ตากฟา-ตาคลี-พยุหะคีรี-นครสวรรคเปนแนวกั้นระหวาง
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33