Page 23 - oil palm
P. 23
บทที่ 2
ขอมูลทั่วไป
จากสถานการณปจจุบันที่ประเทศไทยตองเสียคาใชจายเปนจํานวนมากในการนําเขาน้ํามันดิบจาก
ตางประเทศเพื่อนํามากลั่นสําหรับใชอุปโภคภายในประเทศ การสงเสริมและสนับสนุนการใชน้ํามันพืชจึงเขามามี
บทบาทในสังคมประเทศไทยปจจุบัน ปาลมน้ํามันเปนพืชที่ใหผลผลิตน้ํามันตอหนวยพื้นที่สูงที่สุดเมื่อเทียบ
กับพืชน้ํามันชนิดอื่นๆ โดยสามารถนํามาใชผลิตไบโอดีเซลซึ่งนํามาใชเปนเชื้อเพลิงชีวภาพทดแทนน้ํามัน
ดีเซลไดเนื่องจากไบโอดีเซลมีคุณสมบัติเทียบเคียงน้ํามันดีเซลในชวง 40 ปที่ผานมา เกษตรกรไดเริ่มปลูก
ปาลมน้ํามันกันอยางแพรหลาย โดยพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันแหลงใหญของประเทศอยูภาคใต โดยปจจัยทาง
กายภาพที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของปาลมน้ํามัน คือ ลักษณะอากาศ โดยเฉพาะปริมาณน้ําฝน การกระจายตัว
ของฝน และความชื้นสัมพัทธ นอกจากนี้ตองคํานึงถึง สภาพพื้นที่ ลักษณะดิน สายพันธุที่ปลูกตองผานการรับรอง
โดยกรมวิชาการเกษตร และตองมีการบํารุงรักษาอยางถูกวิธี เพื่อใหผลผลิตที่คุมคา ในอนาคตมีการคาดการณวา
มีความตองการน้ํามันปาลมเพื่อการอุปโภค บริโภคเพิ่มมากขึ้น ในบทนี้ขอกลาวถึงลักษณะทางกายภาพทั่วไป
ซึ่งเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญตอการกําหนดพื้นที่เหมาะสมสําหรับปลูกปาลมน้ํามัน รวมถึงสภาพการผลิต
และการใชประโยชนของปาลมน้ํามัน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2.1 สภาพภูมิประเทศ
2.1.1 ภาคใต
กวี (2547) ภาคใตหรือปกษใตเปนแผนดินแหงคาบสมุทรที่ประกบดวยทะเลทั้ง 2 ดาน โดยมี
มิติเชิงภูมิประเทศเปนแผนดินเทือกเขากับที่ราบชายฝง มีลักษณะทางธรณีที่มีหินแกรนิตเปนหินฐาน
แกนกลางของเทือกเขาทําใหปรากฏแรมากมาย มีภูมิอากาศรอนชื้นแบบศูนยสูตร ทําใหมีฝนตกชุกและปริมาณ
ฝนมาก พืชพรรณธรรมชาติสวนใหญเปนปาดิบชื้น ภาคใตอยูระหวางละติจูด 5°36´-11°05´ เหนือ และระหวาง
ลองจิจูด 98°07´-102°13´ ตะวันออก รูปรางของภาคใตมีลักษณะของแผนดินที่เปนคาบสมุทรประกบขาง
ดวยทะเล 2 ดาน ทําใหมีรูปรางดานยาวในแนวเหนือ-ใตมากกวาในแนวตะวันออก-ตะวันตกมาก ภูมิ
ประเทศสําคัญมีดังนี้
(1) ภูมิประเทศภูเขาสูง
ภาคใตของประเทศไทย มีลักษณะเปนคาบสมุทรแคบยาว โดยมีเทือกเขาสูงเปนแกนกลาง
ซึ่งเทือกเขาที่สําคัญมี 3 เทือกเขา คือ
เทือกเขาภูเก็ต เปนเทือกเขาที่มีโครงสรางตอเนื่องมาจากเทือกเขาตะนาวศรีในภาค
ตะวันตก ซึ่งเปนเทือกเขายุคเดียวกันและมีลักษณะการเกิดทํานองเดียวกัน เทือกเขาภูเก็ตเริ่มจากบริเวณคอ
คอดกระลงมาทางใตผานจังหวัดพังงาตอเนื่องไปจนถึงจังหวัดภูเก็ต รวมยาว 292 กิโลเมตร ยอดเขาที่สูง