Page 19 - oil palm
P. 19
1-3
1.2.4 เพื่อใชเปนฐานขอมูลในการกําหนดแผนงานและนโยบายพัฒนาพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามัน
ในรูปแบบตางๆ
1.3 ระยะเวลาและขอบเขตการดําเนินงาน
1.3.1 ระยะเวลา เดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2556
1.3.2 ขอบเขตศึกษา พื้นที่เกษตรกรรมทั้งประเทศ
1.3.3 พืชเศรษฐกิจ ปาลมน้ํามัน เพื่อการอุปโภคบริโภคและผลิตพลังงานทดแทน
1.4 ขั้นตอนและวิธีการดําเนินงาน
1.4.1 การรวบรวมขอมูลทางดานกายภาพ
ขอมูลที่นํามาใชเปนฐานในการศึกษาและวิเคราะห เปนขอมูลเชิงพื้นที่และเชิงอรรถาธิบาย
ประกอบดวย
1) แผนที่กลุมชุดดิน มาตราสวน 1: 25,000 โดย กรมพัฒนาที่ดิน ป พ.ศ. 2555
2) แผนที่สภาพการใชที่ดินปาลมน้ํามัน มาตราสวน 1: 25,000 โดย กรมพัฒนาที่ดิน
ป พ.ศ. 2552-2556
3) แผนที่ปาสงวนแหงชาติ มาตราสวน 1: 50,000โดย กรมปาไม ไมระบุป
4) แผนที่เขตอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปา มาตราสวน 1: 50,000 โดย กรมอุทยาน
แหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ไมระบุป
5) แผนที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม มาตราสวน 1: 50,000 โดย สํานักงานปฏิรูปที่ดิน
เพื่อการเกษตร ป พ.ศ. 2555
6) แผนที่ขอบเขตการปกครอง มาตราสวน 1: 50,000 โดย กรมการปกครอง ป พ.ศ. 2556
7) แผนที่เสนชั้นน้ําฝนของประเทศไทยป 2546-2555 (10 ป) โดย กรมอุตุนิยมวิทยา ป พ.ศ. 2555
1.4.2 การวบรวมขอมูลทางดานเศรษฐกิจและสังคม
ทําการรวบรวมขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) และขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ใชแบบสอบถามขอมูลทางดานเศรษฐกิจและสังคม
สํารวจขอมูลจากเกษตรกรตัวอยางผูปลูกพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามัน โดยใชวิธีการสุมตัวอยาง ซึ่งอาศัย
ความนาจะเปนที่ระดับความเชื่อมั่น 90%±10 ในหนวยที่ดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง (S1) หนวยที่ดินที่มี
ระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) และหนวยที่ดินที่มีระดับความเหมาะสมเล็กนอย (S3) โดยแยก
เกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันตามสภาพภูมิประเทศที่เพาะปลูก คือ เกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันภาคใต
เกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันภาคตะวันออก และเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันภาคกลาง (บางจังหวัด)