Page 17 - oil palm
P. 17

บทที่ 1

                                                         บทนํา




                  1.1  หลักการและเหตุผล


                     สภาวะเศรษฐกิจของโลกปจจุบันเปนไปในลักษณะของการแขงขัน รวมทั้งการผลิตทางดาน
                  เกษตรกรรมซึ่งมีผลกระทบโดยตรงตอการเกษตรของไทย ดังนั้นรัฐบาลจึงมีนโยบายในการ

                  สนับสนุนเตรียมพรอมเพื่อเพิ่มศักยภาพสินคาเกษตรมุงสูมาตรฐานสากลเพื่อการแขงขัน กระทรวง

                  เกษตรและสหกรณเปนหนวยงานหลักของประเทศที่มุงสูภารกิจสําคัญในการพัฒนาดานการผลิต
                  สินคาเกษตรใหมีความแข็งแกรงไดมาตรฐาน มีประสิทธิภาพเปนที่ยอมรับแหงสากล ภายใต

                  ยุทธศาสตรหลักของกระทรวงเกษตรและสหกรณ การปรับโครงสรางสินคาเกษตรเปนหนึ่งใน

                  ยุทธศาสตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณที่มีเปาหมายเพื่อพัฒนาการเกษตรใหประสบผลสําเร็จ
                  ตั้งแตการผลิต การแปรรูป และการตลาด แบบครบวงจร โดยเฉพาะดานการผลิต ปจจัยการผลิตที่

                  สําคัญเบื้องตนคือ ที่ดิน โดยมีกรมพัฒนาที่ดินเปนหนวยงานหลักมีหนาที่รับผิดชอบในการฟนฟู

                  ปรับปรุงบํารุงดินใหมีความอุดมสมบูรณ มีศักยภาพในการผลิต รวมถึงการกําหนดเขตการใชที่ดิน
                  ตามศักยภาพของทรัพยากร และการอนุรักษดินและน้ํา เพื่อใหมีการใชที่ดินอยางเหมาะสมทั้งทางดาน

                  กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ สงผลใหเกิดการใชทรัพยากรดินอยางยั่งยืนตอไป

                     ปาลมน้ํามันเปนหนึ่งในพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทยที่มีคุณคาและมูลคาสูงที่สามารถ

                  พัฒนาตอยอดเขาสูอุตสาหกรรมตอเนื่องตางๆ ไดมากมาย เนื่องจากปาลมน้ํามันสามารถใชในการ
                  อุปโภคบริโภค และในปจจุบันมีบทบาทสําคัญในการผลิตพลังงานทดแทน (ไบโอดีเซล) ซึ่งสามารถให

                  ปริมาณน้ํามันตอหนวยพื้นที่สูงกวาพืชน้ํามันทุกชนิด การปลูกปาลมน้ํามันในประเทศไทยมีการขยายตัว

                  อยางรวดเร็วและตอเนื่อง ตั้งแตป พ.ศ. 2520 เปนตนมา แหลงปลูกปาลมน้ํามันสวนมากอยูในภาคใต
                  และภาคตะวันออก โดยจังหวัดที่ปลูกมากทางภาคใต ไดแก จังหวัดกระบี่ สุราษฎรธานี และชุมพร

                  เนื่องจากสามารถปลูกไดดีในเขตรอนที่มีฝนตกสม่ําเสมอตลอดทั้งป อยางไรก็ตาม ปจจุบันมีการขยาย

                  พื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันไปในภาคอื่นของประเทศโดยเฉพาะภาคกลาง เนื่องจากปาลมน้ํามันเปนพืชที่

                  ดูแลรักษางาย ระยะเวลาในการใหผลผลิตเร็ว ผลผลิตสามารถนําไปแปรรูปเปนผลิตภัณฑตางๆ ได
                  หลากหลาย อีกทั้งยังมีผลตอบแทนสูง เกษตรกรจึงใหความสนใจปลูกปาลมน้ํามันมากขึ้น โดยเฉพาะ

                  เพื่อการผลิตพลังงานทดแทนที่ใชเปนสวนผสมในน้ํามันดีเซล โดยพบวา ในป 2551 มีเนื้อที่เพาะปลูก

                  ปาลมน้ํามันทั้งหมด 3,622,778  ไร ผลผลิตรวม 9,263,784  ตัน และผลผลิตเฉลี่ย 3,225 กิโลกรัมตอไร มี
                  ปริมาณการสงออกน้ํามันปาลมเปนอันดับ 3 ของโลกรองจากอินโดนีเซีย และมาเลเซีย ตลาดสงออกหลัก
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22