Page 18 - oil palm
P. 18

1-2





                  ของไทย ไดแก มาเลเซีย อินเดีย พมา และจีน (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2551) จากปริมาณความ

                  ตองการใชที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องและจากการคาดการณของกระทรวงพลังงานที่คาดวา ในป พ.ศ. 2554

                  ผลผลิตปาลมน้ํามันภายในประเทศจะไมเพียงพอกับความตองการใชในรูปพลังงานทดแทน รัฐบาลจึง
                  มีนโยบายดานพลังงานทดแทนขยายพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันภายในประเทศ ตั้งแตป พ.ศ.2551 เปนตนไป

                           แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) โดยสํานักงานคณะกรรมการ

                  พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนแผนยุทธศาสตรที่ชี้นําทิศทางการพัฒนาประเทศระยะกลาง

                  เพื่อมุงสูวิสัยทัศนระยะยาว ไววา “คนไทยภาคภูมิใจในความเปนไทย มีมิตรไมตรีบนวิถีชีวิตแหงความ
                  พอเพียง ยึดมั่นในวัฒนธรรมประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึง

                  มีคุณภาพ สังคมมีความปลอดภัยและมั่นคง อยูในสภาวะแวดลอมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน

                  ระบบการผลิตเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมีความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน อยูบนฐานทางเศรษฐกิจ

                  ที่พึ่งตนเองและแขงขันไดในเวทีโลก สามารถอยูในประชาคมภูมิภาคและโลกไดอยางมีศักดิ์ศรี”
                      จากความตองการดานพลังงานทดแทนดังกลาว และเพื่อเปนการสนับสนุนยุทธศาสตรการพัฒนา

                  สินคาเกษตรตามแผนพัฒนาการเกษตรในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11

                  กรมพัฒนาที่ดินจึงไดดําเนินการกําหนดเขตพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการปลูกปาลมน้ํามัน เพื่อเพิ่ม
                  ประสิทธิภาพและลดตนทุนการผลิตปาลมน้ํามัน ทําใหเกษตรกรและผูผลิตปาลมน้ํามันสามารถแขงขัน

                  กับตลาดภายนอกประเทศได และการกําหนดพื้นที่ดังกลาวยังสามารถนํามาเปนขอมูลพื้นฐานในการ

                  วางแผนการปลูกปาลมน้ํามันและการคาดการณผลผลิตใหสอดคลองตามความตองการของตลาดได
                  อยางเปนระบบ ดังนั้น การกําหนดเขตพื้นที่ที่เหมาะสมสําหรับการปลูกปาลมน้ํามันจึงเปนสวนสําคัญ

                  ในการเพิ่มศักยภาพสินคาเกษตรเพื่อการแขงขัน และอีกทั้งยังเปนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

                  และสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ตามนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                  และสังคมแหงชาติฉบับปจจุบัน


                  1.2  วัตถุประสงค

                    1.2.1  เพื่อเปนการกําหนดแนวทางปลูกปาลมน้ํามันใหเหมะสมกับระดับความเหมาะสมของ

                  ที่ดินเพื่อนําไปสูการลดตนทุนและเพิ่มผลผลิต
                    1.2.2  เพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินที่เหมาะสมทางดานกายภาพ เศรษฐกิจและสังคมของพืช

                  เศรษฐกิจปาลมน้ํามัน

                    1.2.3  เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนการผลิตและการตลาด สําหรับการอุปโภคบริโภคและ
                  รองรับนโยบายดานการผลิตเพื่อใชเปนพลังงานทดแทนในอนาคต (ไบโอดีเซล)
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23