Page 20 - oil palm
P. 20

1-4





                      2)  ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary  Data) ไดแก ขอมูลทางดานเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจน

                  ขอมูลทางดานแผนงาน ยุทธศาสตร และนโยบายตางๆ ที่เกี่ยวของกับพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามันโดยการ

                  รวบรวมขอมูลตางๆ จากหนวยงานที่เกี่ยวของ

                    1.4.3  การนําเขาและวิเคราะหขอมูล
                       การนําเขาและวิเคราะหขอมูล เปนการเก็บและวิเคราะหขอมูลดวยระบบคอมพิวเตอรและใช

                  โปรแกรมสําเร็จรูปตางๆ เชน Microsoft office, และ Excel เปนตน ซึ่งการวิเคราะหขอมูลจะทําการวิเคราะห

                  ขอมูลเฉพาะดาน มีรายละเอียดดังนี้
                      1)  การประเมินคุณภาพที่ดินแยกตามกลุมชุดดินพรอมทั้งจัดทําแผนที่ความเหมาะสม

                  ของพืชเศรษฐกิจปาลมน้ํามัน โดยจําแนกระดับความเหมาะสมของที่ดิน เปน 4 ระดับคือ

                       S1   หมายถึง  ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง

                       S2   หมายถึง  ชั้นที่มีความเหมาะสมปานกลาง
                       S3   หมายถึง  ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                       N    หมายถึง  ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม

                        ซึ่งการประเมินคุณภาพที่ดินสําหรับปาลมน้ํามันแยกเปน 2 กรณี คือ ประเมินตาม
                  ลักษณะการใชที่ดินเพื่อปลูกปาลมน้ํามันปกติและประเมินตามลักษณะการใชที่ดินเพื่อการปลูกปาลมน้ํามัน

                  ในพื้นที่ที่มีการยกรองซึ่งจะพบในพื้นที่ลุม

                      2)  ซอนทับแผนที่กลุมชุดดิน สภาพการใชที่ดิน เขตปาไมตามกฎหมายและมติ
                  คณะรัฐมนตรี ความเหมาะสมของที่ดิน ขอบเขตการปกครอง แผนที่เสนชั้นน้ําฝนโดยใชโปรแกรมใน

                  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

                      3)  สรางเงื่อนไขเพื่อกําหนดเขตการใชที่ดินปาลมน้ํามัน โดยมีหลักการดังตอไปนี้
                       - การกําหนดเขตการใชที่ดินเพื่อปลูกปาลมน้ํามันตองอยูนอกเขตปาไมตามกฎหมาย

                  และภายใตขอหามการใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมตามมติคณะรัฐมนตรี (เขตปาไมตามกฎหมาย ที่ใชศึกษา

                  เปนเขตโดยประมาณเทานั้นไมสามารถอางอิงทางกฎหมายไดเพื่อความถูกตองควรตรวจสอบกับหนวยงาน

                  ที่รับผิดชอบกอนนําไปใชจริง)
                       - พิจารณาพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันจริงในปจจุบันที่อยูนอกเขตปาไมตามกฎหมายและ

                  ภายใตขอหามการใชที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมตามมติคณะรัฐมนตรีของแตละระดับความเหมาะสม

                  พรอมกันนี้ยังพิจารณาถึงเขตพื้นที่มีศักยภาพเพื่อรองรับขยายพื้นที่ปลูกปาลมน้ํามันโดยพิจารณาจาก

                  พื้นที่ปลูกยางพาราปจจุบันในที่ลุมต่ําที่มีความเหมาะสมสําหรับปาลมน้ํามันที่อยูในระดับความเหมาะสม
                  S1 (M) และ S2 (M)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25