Page 24 - oil palm
P. 24

ที่สุดคือ เขาหลังคาตึก มีระดับสูง 1,395 เมตร  ดวยระดับสูงและการวางตัวของเทือกเขาภูเก็ตในแนวเหนือ-

               ใต ซึ่งขวางทิศทางลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตที่พัดเอาความชุมชื้นมาจากมหาสมุทรอินเดียเกิดเปนฝนปะทะ
               ภูเขา ตลอดแนวยาวของพื้นที่หนาเขาโดยเฉพาะในพื้นที่อําเภอตะกั่วปา จังหวัดพังงา พบวา วัดปริมาณ

               น้ําฝนไดมากสุดและการที่เทือกเขาภูเก็ตเปนเทือกเขาที่มีลักษณะทางธรณีที่มีหินแกรนิตเปนหินฐานลาง ทํา

               ใหพบแรดีบุกและวุลแฟรมในปริมาณที่มาก โดยเฉพาะในเขตจังหวัดพังงาและภูเก็ต ซึ่งอดีตแรดีบุกถือเปนแร
               ที่สําคัญทางเศรษฐกิจของภาคใต

                      เทือกเขานครศรีธรรมราช   เปนเทือกเขาที่วางตัวในแนวเหนือ-ใต แบงเปน 2 ตอน โดย

               ตอนบนเรียก เทือกเขาหลวงและตอนลางเรียก เทือกเขาบรรทัด เทือกเขานครศรีธรรมราช เริ่มจากจังหวัดสุ

               ราษฎรธานีผานพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราชไปจนถึงจังหวัดสตูล รวมยาว 319 กิโลเมตร มียอดเขาสูง
               หลายยอด ซึ่งยอดที่สูงที่สุดคือ เขาหลวง มีระดับสูง 1,835 เมตร ปกคลุมดวยปาดิบชื้น รวมทั้งปาชนิดอื่นๆ

               ที่ขึ้นปะปนกันอยู ความสูงของเทือกเขานครศรีธรรมราชชวยใหเกิดฝนปะทะภูเขา จากลมมรสุม

               ตะวันออกเฉียงเหนือและมรสุมตะวันตกเฉียงใต ทําใหบริเวณพื้นที่หนาเขาไดรับความชื้นจากฝนที่ตก

               ทางดานตะวันตกและดานตะวันออก จึงปรากฏสวนยางพารา ปาลมน้ํามัน สวนผลไมชนิดตางๆ ตามที่ดอนและ
               ที่ราบชายฝงโดยทั่วไปเทือกเขาบรรทัดเปนเทือกเขาแกนกลางของคาบสมุทรวางแนวตอจากเทือกเขาหลวง จาก

               อําเภอทุงสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ลงไปทางใต กั้นเขตแดนระหวางจังหวัดตรังกับจังหวัดพัทลุง และจังหวัด

               สตูลกับจังหวัดสงขลา
                     เทือกเขาสันกาลาคีรี  เปนเทือกเขาที่เปนพรมแดนธรรมชาติระหวางไทย-มาเลเซีย วางตัวใน

               แนวตะวันออก-ตะวันตก โดยเริ่มจากตนน้ําโก-ลก ในเขตอําเภอแวง จังหวัดนราธิวาส ไปทางตะวันตกจนจดริม

               ฝงทะเลในเขตจังหวัดสตูล รวมยาว 428 กิโลเมตร โดยยอดเขาที่สูงที่สุด คือ เขาปูโละ มีระดับสูง 1,533 เมตร
               เทือกเขาสันกาลาคีรีเปนตนน้ําสําคัญของแมน้ําหลายสาย เชน แมน้ําโก-ลก แมน้ําปตตานี แมน้ําสายบุรี ฯลฯ

               ซึ่งมีทิศทางการไหลจากดานใตขึ้นเหนือออกสูทะเลอาวไทยตอนใต นอกจากนี้ยังเปนพื้นที่ปาไมที่สําคัญ ทั้ง

               ปาดิบชื้นและปาชนิดอื่นๆ ซึ่งปะปนกันอยู ความสูงของเทือกเขาไดชวยสกัดกั้นเอาความชื้นจากลมมรสุม

               ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผานทะเลอาวไทยทําใหฝนตกบริเวณหนาเขาซึ่งไดแก พื้นที่ลาดเชิงเขา ที่ราบ
               ชายฝงในพื้นที่จังหวัดสงขลา ปตตานี ยะลา และนราธิวาส เปนตน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29