Page 25 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 25

2-9





                  ด่างค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งถึงดินเหนียว

                  พบความลึกของชั้นจาโรไซต์ที่ 100-150 เซนติเมตร

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินเป็นกรดจัดมาก ดินแห้งแข็ง โครงสร้างแน่นทึบ
                  การไถพรวนยาก ขาดแคลนแหล่งน ้าจืด และน ้าท่วมขังในช่วงฤดูฝน ดินกลุ่มนี้ปกติใช้ท านา

                        แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้มีปัญหาเกี่ยวกับ

                  การระบายน ้าเลวและเสี่ยงต่อน ้าท่วมขังเป็นระยะเวลานานโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน ในการปลูกมะม่วง
                  ควรยกร่องปลูกเพื่อช่วยการระบายน ้าและป้องกันน ้าท่วม ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยหมัก

                  โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจนและฟอสฟอรัส

                  และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO ) อัตรา 500-1,100 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็น
                                                            3
                  ประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน

                        3)  หน่วยที่ดินที่  3  3I  3IM2  3M2  3sa  3saI  และ3saIM2

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลว ดินมีความอุดม
                  สมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็ น

                  ด่างสูง ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดินเหนียว หากพบคราบเกลือมีค่าการน าไฟฟ้า  2-4 dS/m
                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินเหนียวจัด โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้งแข็ง การไถพรวน

                  ยาก และมีน ้าท่วมขังในช่วงฤดูฝน บางพื้นที่อาจพบชั้นดินเลนที่มีเกลือสะสมในดินล่าง หรือเป็นดินเค็ม

                  ดินกลุ่มนี้ปกติใช้ท านา

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้มีปัญหาเกี่ยวกับ
                  การระบายน ้าเลวถึงค่อนข้างเลว และเสี่ยงต่อน ้าท่วมขังเป็นระยะเวลานานโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน

                  นอกจากนี้บางพื้นที่อาจพบชั้นดินเลนที่มีเกลือสะสมในดินล่าง หรือเป็นดินเค็ม ในการปลูกมะม่วง

                  ควรยกร่องปลูกเพื่อช่วยการระบายน ้าและป้องกันน ้าท่วม ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยหมัก
                  โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร)

                  ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมี โดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจนและฟอสฟอรัส

                  และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO) อัตรา 500-1,100 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็น
                                                            3
                  ประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน
                        4) หน่วยที่ดินที่  4  4I  4M2  และ4IM2

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลว ดินมีความอุดม

                  สมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่าง
                  ค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบนและดินล่างเนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งถึงดินเหนียว







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30