Page 24 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 24

2-8






                        การวิเคราะห์หน่วยที่ดิน
                        หน่วยที่ดินเป็นข้อมูลที่ใช้ในการจัดท าเขตเหมาะสมส าหรับการปลูกมะม่วง ในการจัดท าหน่วย

                  ที่ดินนั้น ต้องท าการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการ
                  วิเคราะห์โดยใช้วิธีการซ้อนทับข้อมูล ข้อมูลกลุ่มชุดดินจะถูกน ามาพิจารณาร่วมกับข้อมูลอื่นๆ ที่

                  สามารถรวบรวมได้จากหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง จากนั้นหน่วยที่ดินนี้จะถูกน ามาประเมินคุณภาพ
                  ที่ดิน ซึ่งคุณภาพที่ดินที่จัดท าจะพิจารณาจากข้อมูลสมบัติดิน โดยปัจจัยพิจารณา ประกอบด้วย การ

                  ระบายน ้า ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวก ความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่
                  เป็นด่าง ความลึกของดิน ปริมาณก้อนกรวด ค่าการน าไฟฟ้า ปฏิกิริยาดิน และความลาดชัน ซึ่งจะ

                  น าไปสู่การประเมินความเหมาะสมของที่ดินส าหรับการใช้ที่ดินประเภทต่างๆ ซึ่งข้อมูลหน่วยที่ดินจะ

                  ช่วยให้งานวางแผนการใช้ที่ดินมีประสิทธิภาพและตรงตามศักยภาพของพื้นที่มากยิ่งขึ้น
                        จากการวิเคราะห์หน่วยที่ดิน จะมีทั้งหน่วยที่ดินที่มีการปลูกมะม่วงอยู่ในปัจจุบัน และหน่วย

                  ที่ดินที่มีศักยภาพและไม่มีศักยภาพส าหรับการปลูกมะม่วงทั้งในเขตและนอกเขตชลประทานซึ่งเป็น
                  ข้อมูลของทั้งประเทศ ในการจัดท าหน่วยที่ดิน จะมีการให้สัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับการจัดการที่ดินและ

                  การจัดการน ้า ได้แก่
                            I : มีศักยภาพในการปลูกพืชฤดูแล้ง

                            M : มีการจัดการดินที่มีปัญหาให้สามารถปลูกมะม่วงได้

                            M2 : ดินยกร่องเพื่อปลูกไม้ผล-ไม้ยืนต้น
                        หน่วยที่ดินที่ได้จัดท าเพื่อใช้ในการประเมินความเหมาะสมของที่ดินส าหรับมะม่วง

                  ประกอบด้วย (ตารางผนวกที่ 1-2 )

                        1) หน่วยที่ดินที่  1  1I  1M2  และ1IM2
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลวถึงค่อนข้าง

                  เลว ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกและความอิ่มตัวด้วยประจุบวก

                  ที่เป็นด่างสูง ดินบน และดินล่าง เนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งถึงดินเหนียว
                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินเหนียวจัด โครงสร้างแน่นทึบ ดินแห้งแข็ง การไถ

                  พรวนยาก และมีน ้าท่วมขังในช่วงฤดูฝน ดินกลุ่มนี้ปกติใช้ท านา

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้มีปัญหาเกี่ยวกับ
                  การระบายน ้าเลวหรือค่อนข้างเลว และเสี่ยงต่อน ้าท่วมขังเป็นระยะเวลานานโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน

                  ในการปลูกมะม่วงควรยกร่องปลูกเพื่อช่วยการระบายน ้าและป้องกันน ้าท่วม

                        2) หน่วยที่ดินที่  2  2I  2M2  และ2IM2
                          พ บ ในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลว ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็น






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29