Page 28 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 28

2-12





                  อินทรีย์ได้แก่ ปุ๋ ยหมักหรือปุ๋ ยคอก อัตรา 1.5-2.0 ตันต่อไร่ ใส่คลุกเคล้ากับเนื้อดินเมื่อมีการเตรียมดินปลูกพืช

                  จะช่วยล้างเกลือออกจากดินได้ง่าย รักษาระดับน ้าในร่องสวนให้อยู่ในระดับต ่ากว่าร่องปลูกประมาณ 50

                  เซนติเมตร เพื่อช่วยเร่งการล้างเกลือออกจากดิน

                        9) หน่วยที่ดินที่  9  และ9I

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลว ดินมีความอุดม

                  สมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่า
                  ถึงปานกลาง ดินบนและดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว มีค่าการน าไฟฟ้า 4-8 dS/m

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดินเป็นกรดรุนแรงมาก และมีเกลือสะสมสูง โครงสร้างดินแน่น

                  ทึบ ท าให้ไถพรวนยาก บางพื้นที่อาจมีน ้าทะเลท่วมถึง และมีน ้าท่วมขังในช่วงฤดูฝน
                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้มีปัญหาเกี่ยวกับดิน

                  เป็นกรดจัดและเค็มมาก การระบายน ้าเลว และมีน ้าทะเลท่วมถึง ในการปลูกมะม่วงควรยกร่องปลูกเพื่อช่วย

                  การระบายน ้าและป้องกันน ้าท่วม ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็กใส่

                  อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร) ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการ
                  ใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักไนโตรเจนและโพแทสเซียม และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด

                  (CaCO) อัตรา 1,100-3,000 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน
                        3
                        10) หน่วยที่ดินที่  10  10I  10M2  และ10IM2
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลว ดินมีความอุดม

                  สมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่าถึง

                  ปานกลาง ดินบนและดินล่าง มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว มีความลึกของชั้นจาโรไซต์ที่ <50 เซนติเมตร
                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดินเป็นกรดรุนแรง หรือเป็นดินเปรี้ยวจัด ท าให้มีผลต่อการละลาย

                  ของสารประกอบในดิน โดยแร่ธาตุอาหารพืชพวกฟอสฟอรัสจะถูกตรึงให้อยู่ในรูปที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อพืช

                  ท าให้พืชขาดธาตุฟอสฟอรัส ในขณะเดียวกันจะมีสารละลายพวกอะลูมินั่มและเหล็กเป็นปริมาณมากจนเป็น
                  พิษต่อพืช และมีน ้าท่วมขังในช่วงฤดูฝน

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มดินมีปัญหาเกี่ยวกับดิน

                  เป็นกรดจัดและเปรี้ยวจัด มีการระบายน ้าเลวหรือค่อนข้างเลว และน ้าท่วมขังเป็นเวลานานในช่วงฤดูฝน ใน

                  การปลูกมะม่วงควรยกร่องปลูกเพื่อช่วยการระบายน ้าและป้องกันน ้าท่วม ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์
                  หรื อปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่ วงขนาดเล็กใส่ อัตรา  15 กิ โลกรั มต่อต้น  ต้นมะม่ วง

                  ขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร) ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะ

                  ธาตุอาหารหลักไนโตรเจน และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด (CaCO) อัตรา 1,100-3,000 กิโลกรัม
                                                                                3
                  ต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน






                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33