Page 30 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 30

2-14





                  ดินบนและดินล่าง เนื้อดินเป็นดินเหนียวปนทรายแป้งถึงดิน มีค่าการน าไฟฟ้า  8-16 dS/m และมีกรด

                  แฝง

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินเลนที่มีน ้าทะเลท่วมถึงเป็นประจ า มีศักยภาพ

                  ก่อให้เกิดกรดก ามะถัน ก๊าซพิษไข่เน่า และก๊าซมีเทนซึ่งเป็นอันตรายต่อพืช ความสามารถในการทรงตัว
                  ของต้นพืชต ่ามาก ท าให้พืชล้มง่าย เมื่อดินแห้งจะแปรสภาพเป็นดินกรดก ามะถัน แต่ถ้าดินเปียกจะเป็น

                  ดินเค็มจัดมาก และมีน ้าทะเลท่วมถึงทุกวัน

                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง ไม่แนะน าให้ปลูก เพราะต้องลงทุน

                  แก้ไขข้อจ ากัดสูง ควรใช้ปลูกป่าชายเลนหรือบางพื้นที่ใช้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้าหรือท านาเกลือ และพื้นที่
                  ชายทะเลควรสงวนไว้เป็นป่าชายเลนเพื่อเป็นแนวกันชนของคลื่นลม และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น ้า

                  ต่อไป

                        14) หน่วยที่ดินที่  14
                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าเลว ดินมีความอุดม

                  สมบูรณ์ต ่า ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกสูงและความอิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างต ่า  ดินบน

                  เนื้อดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ดินล่างเนื้อดินเป็นดินเหนียว มีความลึกของชั้นจาโรไซต์ที่
                   50-100 เซนติเมตร

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ดินเป็นกรดจัดมาก มีการระบายน ้าเลวมาก ระดับน ้าใต้ดินอยู่

                  ตื้น และมีน ้าท่วมขังเป็นเวลานานในช่วงฤดูฝน
                          แนวทางการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตพืชเศรษฐกิจมะม่วง เนื่องจากดินกลุ่มนี้เป็นกรดจัด มีการ

                  ระบายน ้าเลว และมีน ้าท่วมขังเป็นเวลานานในช่วงฤดูฝน ในการปลูกมะม่วงควรยกร่องปลูกเพื่อช่วยการ

                  ระบายน ้าและป้องกันน ้าท่วม ปรับปรุงหลุมปลูกด้วยปุ๋ ยอินทรีย์หรือปุ๋ ยหมัก โดยต้นมะม่วงขนาดเล็ก
                  ใส่อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้นมะม่วงขนาดใหญ่ (ขนาดทรงพุ่ม 5 เมตร) ใส่อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้น

                  ร่วมกับการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยเฉพาะธาตุอาหารหลักโพแทสเซียม และในบางพื้นที่ที่ดินเป็นกรดใช้หินปูนบด

                  (CaCO ) อัตรา 500-1,100 กิโลกรัมต่อไร่ เพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดิน
                        3
                        15) หน่วยที่ดินที่  15  15I  15M2  15IM2  15hi  15hiI  15hiM2   และ15hiIM2

                          พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ ดินลึกมาก การระบายน ้าค่อนข้างเลวถึงเลว ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกปานกลางถึงค่อนข้างสูงและความ
                  อิ่มตัวด้วยประจุบวกที่เป็นด่างค่อนข้างต ่าถึงปานกลาง ดินบน เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง ดิน

                  ล่าง เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง

                          ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ หน้าดินแน่นทึบ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต ่า และมีน ้า
                  ท่วมขังในช่วงฤดูฝน ดินกลุ่มนี้ปกติใช้ท านา







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35