Page 16 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 16
1-4
ปัจจัยการผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของการผลิตมะม่วงในหน่วยที่ดินที่มีระดับความเหมาะสมสูง และหน่วย
ที่ดินที่มีระดับความเหมาะสมปานกลาง เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ โดยใช้หลักการวิเคราะห์ทางสถิติ
(2) การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจ ได้น าวิธีการจากระบบ
ของ FAO Framework (1983) มาประยุกต์ใช้ร่วมกับหลักการทางสถิติ ท าการวิเคราะห์ข้อมูลการผลิต
ในปีการผลิต 2560/61 น ามาบันทึกลงในโปรแกรมส าเร็จรูป (Microsoft Excel) แล้วน ามาวิเคราะห์
ข้อมูล เพื่อหาต้นทุนแปร ต้นทุนคงที่ รายได้ (มูลค่าผลผลิต) ผลตอบแทนเหนือต้นทุนเงินสด
ผลตอบแทนเหนือต้นทุนผันแปร ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด มูลค่าปัจจุบันของต้นทุน มูลค่า
ปัจจุบันของรายได้ มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปี อัตราส่วนของรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด
และระยะเวลาคืนทุนของการผลิตมะม่วงที่เกษตรกรท าการผลิตอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งผลตอบแทนจะสรุป
ออกมาในรูปของมูลค่าบาทต่อไร่
1.4.4 กำรก ำหนดเขตกำรปลูกพืชเศรษฐกิจมะม่วง
น าข้อมูลและแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินของพืชเศรษฐกิจมะม่วง วิเคราะห์ร่วมกับ
ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การประเมินผลผลิตของแต่ละกลุ่มชุดดิน ตลอดจนทัศนคติด้าน
การใช้ที่ดินของเกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจมะม่วง เพื่อก าหนดพื้นที่เป้าหมายในการผลิตให้
สอดคล้องกับนโยบาย และยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเป็นกรอบทิศทางในการ
พัฒนาการผลิต การตลาด และการส่งออกมะม่วงของประเทศไทย ในพื้นที่เกษตรกรรมประมาณ 150
ล้านไร่ทั่วประเทศ
1.4.5 กำรจัดท ำรำยงำนและแผนที่
จัดท ารายงานโดยเขียนบรรยายเชิงพรรณนาประกอบตาราง และจัดท าแผนที่เขตการใช้ที่ดิน
พืชเศรษฐกิจมะม่วง ในระดับประเทศ ภาคและจังหวัด
1.5 ผู้ด ำเนินกำร
1.5.1 ที่ปรึกษำโครงกำร
นายสมศักดิ์ สุขจันทร์ ผู้อ านวยการกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
1.5.2 ผู้จัดท ำ
1) นายนันทพล หนองหารพิทักษ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ
(เป็นหัวหน้าโครงการด าเนินการร้อยละ 70)
2) นางสาวกัลยา ด ารงสัจจ์ศิริ นักส ารวจดินช านาญการพิเศษ
(ด าเนินการร้อยละ 30)
3) นายสุวิทย์ รื่นเริง เศรษฐกร (พนักงานราชการ)
4) นายณัฐพงศ์ เล็กบัณฑิตย์ เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
(พนักงานราชการ)
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน