Page 15 - เขตการใช้ที่ดินพิชเศรษฐกิจมะม่วง
P. 15

1-3






                        1.4.2  กำรรวบรวมข้อมูลทำงด้ำนเศรษฐกิจและสังคม
                            ข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคมได้จากการรวบรวมข้อมูลทั้งข้อมูลปฐมภูมิ (primary

                  data) และทุติยภูมิ (secondary data) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                            1)  ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) รวบรวมข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยใช้
                  วิธีการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม (questionnaire) และเลือ ก กลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูก

                  พืชเศรษฐกิจมะม่วงจากเทคนิคการสุ่มตัวอย่างเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) ตามจังหวัดที่เป็น

                  แหล่งผลิตมะม่วงที่ส าคัญ แบ่งกลุ่มตัวอย่างตามช่วงอายุของมะม่วงดังนี้ ปีที่ 1 ปีที่ 2-3 ปีที่ 4-6 ปีที่ 7-9

                  และปีที่ 9 ขึ้นไป ในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการปลูกพืชเศรษฐกิจมะม่วงทางกายภาพ 2 ระดับที่ได้
                  มีการจ าแนกไว้ ได้แก่ พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                            2)  ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) จากการรวบรวมข้อมูล และผลการศึกษาต่างๆ ที่

                  เกี่ยวข้องทั้งจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

                        1.4.3  กำรน ำเข้ำและวิเครำะห์ข้อมูล
                            ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลได้มีการน าเข้าและวิเคราะห์เฉพาะแต่ละด้าน

                  โดยโปรแกรมส าเร็จรูปต่างๆ และโปรแกรมด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังรายละเอียดดังนี้

                            1)  การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ ได้แก่ สภาพใช้ประโยชน์ที่ดินในปัจจุบัน เขตป่าไม้
                  ตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรี การประเมินผลผลิตของแต่ละกลุ่มชุดดินโดยแบบจ าลองการปลูกพืช

                  (crop simulation model) การจัดการพื้นที่ส าหรับการเพาะปลูกมะม่วง ร่วมกับผลความเหมาะสมของ

                  ที่ดินทางกายภาพ โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อเป็นข้อมูลการก าหนดเขตการใช้ที่ดินต่อไป

                            2)  การวิเคราะห์เพื่อประเมินความเหมาะสมของที่ดินทางกายภาพส าหรับการปลูก
                  พืชเศรษฐกิจมะม่วงจากข้อมูลกลุ่มชุดดิน การจัดการที่ดิน และปริมาณน ้าฝนเฉลี่ยรายปีทั่วประเทศ

                  โดยจ าแนกระดับความเหมาะสมของที่ดินเป็น 4 ระดับ คือ ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ชั้นที่มีความ

                  เหมาะสมปานกลาง (S2) ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) และชั้นที่ไม่มีความเหมาะสม (N)
                            3)  การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ

                              (1) การวิเคราะห์เพื่อประเมินความเหมาะสมของพืชกับสภาพพื้นที่ประกอบกับ

                  ข้อมูลเชิงพื้นที่ของผลผลิตมะม่วงที่เกษตรกรเพาะปลูกในกลุ่มชุดดินที่มีระดับความเหมาะสมที่
                  แตกต่างกัน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้สามารถคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมทั้งทางด้านกายภาพของ

                  พื้นที่ และผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน ในการนี้ได้แบ่งการวิเคราะห์ตาม

                  ช่วงอายุของมะม่วงและความเหมาะสมด้านกายภาพของพื้นที่ส าหรับปลูกมะม่วง ได้แก่ ช่วงอายุที่ยังไม่ให้
                  ผลผลิต (ปีที่ 1 และ ปีที่ 2-3) ช่วงอายุที่ให้ผลผลิต (ปีที่ 4-6 ปีที่ 7-9 และมากกว่า ปีที่ 9 ขึ้นไป) และใช้









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมะม่วง                     กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20