Page 77 - longan
P. 77

3-39




                  คุณภาพมาตรฐานเพิ่มผลิตภาพการผลิต การท าล าไยนอกฤดูกาลสร้างมูลค่าเพิ่ม การพัฒนายกระดับ

                  มาตรฐานเน้นการใช้เทคโนโลยีแปรรูปเพิ่มมูลค่าให้หลากหลายตามความต้องการของตลาด การซื้อขาย
                  ล่วงหน้าระบบ Pre-order การบริการจัดการระบบขนส่งและเพิ่มระบบ Cold Chain Logistics พร้อม
                  ทั้งการขยายช่องทางการจ าหน่ายออนไลน์ออฟไลน์ ทั้งในและต่างประเทศ การสร้างระบบ

                  Traceability และ QR code เพื่อสร้างความเชื่อถือให้กับผู้บริโภคมั่นใจในคุณภาพสินค้า ตลอดจน
                  แนวทางส่งเสริมการพัฒนาสินค้าเกษตรเพื่อให้ได้รับการรับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) สินค้าล าไย
                  อบแห้งเนื้อสีทอง รวมถึงผลิตภัณฑ์แปรรูป ให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และเกษตรกร เพื่อให้ตรงกับความ
                  ต้องการของตลาด ทั้งหมดนี้จะเป็นก้าวส าคัญให้ภาคเกษตรไทยก้าวสู่มิติใหม่ โดยใช้โมเดล Fair Trade
                  ล าไย การค้าที่เป็นธรรมเพื่อสร้างรายได้ให้เกษตรกรชาวสวนล าไยอย่างยั่งยืนโดยบูรณาการท างานทุก

                  ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่นสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ร้านค้า โรงงานแปรรูป ล้ง และผู้ส่งออก นอกจากนี้
                  คณะกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการผลไม้ (Fruit Board) ได้แต่งตั้งคณะท างานกลุ่มสินค้าล าไย
                  (ล าไยบอร์ด) เพื่อดูแลล าไยเป็นการเฉพาะอีกด้วย

                             ยุทธศาสตร์การพัฒนาผลไม้ไทย (พ.ศ. 2558 - 2564) (1) ให้ความส าคัญในการพัฒนา
                  และแก้ไขปัญหาผลไม้เศรษฐกิจหลัก 7 ชนิด ได้แก่ ทุเรียน มังคุด เงาะ ลองกอง ล าไย ลิ้นจี่ และมะม่วง
                  (2) ผลิตผลไม้ที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับของคู่ค้า (3) สนับสนุนให้กลไกตลาดผลไม้
                  ภายในประเทศด าเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) ด าเนินงานตามข้อตกลงเขตการค้าเสรี (FTA) และ

                  กฎระเบียบ มาตรการต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผลไม้ไทย (5) ด าเนินงานเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายใน
                  การสร้างความเข้มแข็งด้านการผลิต การตลาด การบริหารจัดการองค์กรเพื่อรองรับการเป็นประชาคม
                  เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ก าหนดวิสัยทัศน์ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตและตลาดผลไม้เมืองร้อนที่มี
                  คุณภาพได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยมี 4 ยุทธศาสตร์ ประกอบด้วยกลยุทธ์/

                  กิจกรรมการด าเนินงาน ดังนี้
                         1) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการผลผลิต
                           (1) การพัฒนาคุณภาพผลผลิต
                               (1.1) การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการพัฒนาคุณภาพผลไม้ทั้งในและนอกฤดู

                               (1.2) ส่งเสริมการผลิตตามเขตความเหมาะสม (Zoning)
                               (1.3) ส่งเสริมการผลิตตามมาตรฐาน GAP และ เกษตรอินทรีย์
                               (1.4) ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตตามมาตรฐานสินค้าเกษตรด้านไม้ผล

                               (1.5) ส่งเสริมการเฝ้าระวังและพัฒนาการเตือนภัยพิบัติด้านการเกษตร
                               (1.6) ส่งเสริมการผลิตผลไม้คุณภาพที่มีชื่อเสียงมาจากแหล่งก าเนิดทางภูมิศาสตร์
                  (Geographical Indication: GI)
                            (2) การบริหารจัดการการผลิต
                               ศึกษาความต้องการผลผลิตของตลาด ทั้งตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ

                         2) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการการตลาด
                           (1) การพัฒนาตลาดในประเทศ
                               (1.1) เพิ่มประสิทธิภาพของตลาดกลางในแหล่งผลิต

                               (1.2) เพิ่มปริมาณการรวบรวมและจ าหน่ายผลผลิตคุณภาพผ่านสถาบันเกษตรกร




                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจล าไย                                กองนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82