Page 228 - coffee
P. 228

3-118






                             4)  พื้นที่เพาะปลูกมีแนวโนมลดลง เนื่องจากเกษตรกรบางสวนปรับเปลี่ยนพื้นที่

                  ไปปลูกยางพารา และปาลมน้ํามันแทน เนื่องจากไดรับผลตอบแทนที่ดีกวาและเปนพืชที่ทางราชการ

                  สงเสริม อีกทั้งไมสามารถจะปลูกแซมในแถวพืชหลักที่อายุมากกวา 3 ปได
                             5)  มีการบุกรุกพื้นที่ปาไม เพื่อเปนพื้นที่ปลูกกาแฟมากขึ้นทําใหทรัพยากรธรรมชาติ

                  ถูกทําลายเกิดปญหาหนาดินถูกชะลางพังทลาย

                             6)  เกษตรกรใชพื้นที่ไมเหมาะสม ขาดการปรับปรุงบํารุงดินหรือการจัดการ

                  ไมถูกตอง นอกจากนี้เกษตรกรขาดการปฏิบัติการดูแลรักษากาแฟที่มีอายุมาก (ทําสาว) ทําใหตนกาแฟ
                  ไมสามารถใหผลผลิตไดไมเต็มที่

                             7)  การผลิตในบางพื้นที่จะเนนการเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกเพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิต

                  มากกวาที่จะเพิ่มผลผลิตดวยการเพิ่มศักยภาพการผลิต หรือเพิ่มผลผลิตตอไร

                             8)  การใชปจจัยการผลิตในการผลิตกาแฟยังไมเหมาะสมในเชิงเศรษฐกิจ ทําให
                  ตนทุนการผลิตสูงเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศคูแขงขัน

                                      9) คุณภาพผลผลิตบางสวนไมไดมาตรฐาน เนื่องจากเกษตรกรปฏิบัติกอน

                  และหลังการเก็บเกี่ยวไมถูกตอง เปนผลใหกาแฟมีความชื้นสูง เกิดเชื้อราไดงาย ผลผลิตเมล็ดกาแฟ
                  บางสวนมีคุณภาพต่ํา เนื่องจากการเก็บเมล็ดกาแฟที่สุกและไมสุกปะปนกัน

                                    10) การรวมกลุมเกษตรกรเพื่อแปรรูปผลิตภัณฑกาแฟยังขาดการพัฒนาใหมี

                  ความหลากหลาย
                                    11) ผลผลิตตอไรต่ํา เนื่องจากเกษตรกรใชกาแฟพันธุเดิมที่ปลูกกันมานาน ไมมี

                  การปรับปรุงใชพันธุใหม


                          3.4.2.2  ขอจํากัด
                             1)  สภาวะอากาศที่แปรปรวน เชน เกิดปญหาภัยแลง ทําใหเปนอุปสรรคตอ

                  ผลผลิต และผลผลิตมีปริมาณลดต่ําลงและในปจจุบันมีพื้นที่ปลูกกาแฟอยูในพื้นที่ที่ดินเหมาะสม

                  เพียงรอยละ 36.45 ของพื้นที่ปลูกกาแฟภาคใต
                             2)  การเปดตลาดตามขอตกลงอาฟตากับประเทศเพื่อนบานตั้งแตวันที่ 1 มกราคม

                  2553 เปนตนไป สงผลใหมีการนําเขาเมล็ดกาแฟจากประเทศเพื่อนบานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบ

                  ทําใหราคาในประเทศต่ําลง

                             3)  สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามซึ่งปลูกกาแฟพันธุโรบัสตาเชนเดียวกับไทย
                  สามารถขยายการผลิตไดเปนที่สองของโลกรองจากบราซิล มีคาแรงงานและตนทุนการผลิตต่ํากวาไทย

                  และระบายผลผลิตกาแฟภายในประเทศโดยจําหนายในราคาที่ต่ํามาก สงผลใหราคากาแฟทั่วโลก

                  ตกต่ํา





                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   223   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233