Page 231 - coffee
P. 231

บทที่ 4

                                                     เขตการใชที่ดิน




                        จากสถานการณที่ปริมาณผลผลิตกาแฟไมเพียงพอตอความตองการใชภายในประเทศ รวมถึง
                  ปญหาราคาผลผลิตที่มีแนวโนมต่ําลง เนื่องจากภาระผูกพันที่ประเทศไทยตองเปดเขตการคาเสรี

                  อาเซียนกับประเทศเพื่อนบานภายใตขอตกลงอาฟตา (AFTA) ทําใหผูประกอบการสามารถนําเขา

                  เมล็ดกาแฟราคาต่ํากวาจากประเทศที่อยูภายใตขอตกลงการคาเสรีอาเซียนได เนื่องจากไมมีมาตรการ
                  กีดกันทางการคาดานภาษีการนําเขา  ซึ่งอาจสงผลใหราคาเมล็ดกาแฟดิบภายในประเทศลดต่ําลง

                  จนสงผลกระทบตอเกษตรกรไทย โดยในปการผลิต 2552/2553 ประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกกาแฟ

                  ทั้งหมดประมาณ 507,984 ไร แบงเปนพื้นที่ปลูกในภาคเหนือประมาณ 27,372 ไร (สวนวิเคราะห
                  สภาพการใชที่ดินที่ 2, 2552 และ 2553) และพื้นที่ปลูกในภาคใตประมาณ 480,612 ไร (สวนวิเคราะห

                  สภาพการใชที่ดินที่ 1, 2553) จากการวิเคราะหขอมูลเบื้องตนสามารถจําแนกพื้นที่เพาะปลูกกาแฟ
                  ทั้งประเทศตามขอจํากัดการใชที่ดินตามกฎหมายซึ่งพิจารณาจากเขตปาไมตามกฎหมาย พบวาพื้นที่

                  ปลูกกาแฟที่อยูนอกเขตปาไมมีเนื้อที่ประมาณ 206,713 ไร และพื้นที่ปลูกกาแฟที่อยูในเขตปาไม

                  มีเนื้อที่ประมาณ 301,271 ไร จากการที่พื้นที่ปลูกกาแฟมากกวาครึ่งของพื้นที่ปลูกกาแฟทั้งประเทศ
                  อยูในเขตปาไมตามกฎหมาย และปญหาพื้นที่ปลูกกาแฟลดลงสงผลใหปริมาณผลผลิตที่ออกสูตลาด

                  ไมเพียงพอกับความตองการใชในประเทศ (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553) จึงจําเปนตองมี
                  การวางแผนการผลิต และมีการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟตามศักยภาพของพื้นที่

                  โดยกําหนดใหพื้นที่ปลูกกาแฟอยูในบริเวณที่เหมาะสมทั้งทางดานกายภาพ และดานเศรษฐกิจ

                  เพื่อใหหนวยงานที่เกี่ยวของใชเปนกรอบและทิศทางในการดําเนินการพัฒนาดานการผลิตและ
                  การตลาด อีกทั้งชวยใหเกษตรกรสามารถแขงขันไดในภาวะการคาเสรีอาเซียน และชวยให

                  เกษตรกรมีรายไดที่มั่นคงและยั่งยืน จากการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตที่สูงขึ้นรวมทั้งลดตนทุน

                  การผลิตตอพื้นที่ โดยไมกอใหเกิดปญหาความเสื่อมโทรมทางดานทรัพยากรธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอม ทั้งนี้การกําหนดเขตพื้นที่ปลูกกาแฟที่เหมาะสมตองสอดคลองกับนโยบายของรัฐตาม

                  เปาหมายของยุทธศาสตรกาแฟรวมไปถึงตองรองรับยุทธศาสตรภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

                  สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 นโยบายปรับโครงสรางดานเศรษฐกิจของภาครัฐ และเตรียมการ
                  เพื่อรองรับยุทธศาตรภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11

                        การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟเปนการพิจารณาจากความเหมาะสมของที่ดิน
                  สําหรับการปลูกกาแฟ โดยพื้นที่จากการกําหนดเขตตองสอดคลองกับเปาหมายของยุทธศาสตรกาแฟ

                  ป 2552-2556 คือ คงพื้นที่ปลูกไวในระดับเดิมหรือไมมีการขยายพื้นที่ปลูกเพิ่ม และใหมีปริมาณผลผลิต







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236