Page 233 - coffee
P. 233

4-3






                        4.1.2  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่มีความเหมาะสม  แตตองมีมาตรการเสริมดานการ

                  จัดการพื้นที่ (Z-II)

                             พื้นที่ในเขตนี้ที่ดินมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกกาแฟอยูในระดับปานกลาง (S2)

                  สภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีลักษณะลาดชันปานกลาง (ความลาดชัน 12-20 เปอรเซ็นต) ลักษณะดินเปนดินลึก
                  มีการระบายน้ําดี มีเนื้อดินละเอียด และมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติปานกลาง โดยมีขอจํากัดเกี่ยวกับ

                  สภาพพื้นที่มีความลาดชันปานกลาง ซึ่งเปนอุปสรรคตอการเขตกรรม และมีความเสี่ยงตอการถูกชะลาง

                  พังทลายของหนาดินในระดับปานกลาง

                        4.1.3  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่มีความเหมาะสมปานกลาง (Z-III)

                             พื้นที่ในเขตนี้ที่ดินมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกกาแฟอยูในระดับเล็กนอย (S3)

                  สภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีลักษณะเปนที่ราบถึงลูกคลื่นลอนชัน (ความลาดชันนอยกวา 12 เปอรเซ็นต)
                  ลักษณะดินเปนดินลึก มีการระบายน้ําดี โดยมีขอจํากัดเกี่ยวกับลักษณะของเนื้อดินที่เปนดินรวนปนทราย

                  ถึงดินคอนขางเปนทราย ทําใหดินมีความสามารถในการอุมน้ําต่ําถึงต่ํามาก


                        4.1.4  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่มีความเหมาะสมปานกลาง แตตองมีมาตรการเสริม
                  ดานการอนุรักษดินและน้ําอยางเหมาะสม (Z-IV)

                             พื้นที่ในเขตนี้ที่ดินมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกกาแฟอยูในระดับเล็กนอย (S3)

                  สภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีลักษณะคอนขางลาดชันถึงลาดชันสูง (ความลาดชัน 20-35 เปอรเซ็นต) เปน

                  ดินลึกปานกลาง (50-100 เซนติเมตร) จึงมีขอจํากัดเกี่ยวกับความลึกของดิน ซึ่งเปนอุปสรรคตอ
                  การหยั่งลึกของรากพืช รวมถึงบางพื้นที่มีปญหาความลาดชันคอนขางสูงจึงเปนอุปสรรคตอการเขตกรรม

                  คอนขางมาก จึงควรเพิ่มมาตรการในการอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงตอการถูกชะลาง

                  พังทลาย และการสูญเสียหนาดิน


                  4.2  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ

                        จากการศึกษา และวิเคราะหขอมูลดานสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ภายใตหลักเกณฑและ

                  ขอกําหนดดังกลาวขางตน สามารถกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่สอดคลอง
                  ตามเปาหมายของยุทธศาสตรกาแฟ ป 2552-2556  ทั้งในประเด็นของพื้นที่ปลูกกาแฟ และประเด็น

                  ของผลผลิตกาแฟ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                        4.2.1 พื้นที่ปลูกกาแฟตามเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ

                             การกําหนดพื้นที่ปลูกโดยการคงพื้นที่ปลูกตามยุทธศาสตรกาแฟ ยึดตามพื้นที่ปลูกกาแฟ

                  ในเขตภาคใต 333,301 ไร







                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238