Page 232 - coffee
P. 232

4-2






                  เพียงพอกับความตองการใชภายในประเทศ (ประมาณการใชผลผลิตกาแฟในประเทศประมาณ 53,800 ตัน)

                  ในขณะเดียวกันตองลดตนทุนการผลิตเพื่อใหสามารถแขงกันกับประเทศคูแขงทางการคาได


                  4.1  หลักเกณฑและการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ

                        การกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟเปนการศึกษา และวิเคราะหสถานภาพของ

                  ทรัพยากรดานตางๆ เชน สภาพการใชที่ดิน ทรัพยากรที่ดิน สภาพภูมิอากาศ และขอบเขตปาไมตามกฎหมาย

                  รวมกับยุทธศาสตรกาแฟ ป 2552-2556 โดยการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ ซึ่งมี
                  หลักเกณฑและขอกําหนดในการวิเคราะหดังนี้

                        - เปนพื้นที่ทําเกษตรกรรมนอกเขตปาไมตามกฎหมาย (ปาไมตามกฎหมาย ไดแก ปาสงวน-

                  แหงชาติ เขตอุทยานแหงชาติ และเขตรักษาพันธุสัตวปา)
                        - เปนพื้นที่ที่เกษตรกรมีการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกกาแฟอยูในปจจุบัน

                        - เปนพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกกาแฟ

                        เมื่อทําการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ตามหลักเกณฑและขอกําหนดขางตน พบวา พื้นที่ปลูกกาแฟ

                  ในภาคเหนือมีเนื้อที่ 27,372 ไร ซึ่งสวนใหญอยูในเขตปาไมตามกฎหมายคิดเปนรอยละ 96.07 ของเนื้อที่
                  ปลูกกาแฟภาคเหนือ ดังนั้นการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟในครั้งนี้จึงเนนเฉพาะพื้นที่

                  ปลูกกาแฟในภาคใตเปนหลัก โดยกาแฟที่ปลูกในภาคใตสวนใหญเปนกาแฟพันธุโรบัสตา

                  (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553) และเปนพันธุที่ใชมากในอุตสาหกรรมแปรรูปเพื่อการ

                  บริโภคภายในประเทศ และเพื่อการสงออก นอกจากนี้พื้นที่ภาคใตยังมีสภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศ
                  ที่คอนขางเหมาะสมกับการปลูกกาแฟพันธุดังกลาว อีกทั้งเกษตรกรมีความรูความชํานาญในการปลูก

                  ตลอดจนการจัดการที่เหมาะสมกับการปลูกกาแฟ เนื่องจากกาแฟเปนพืชดั้งเดิมของพื้นที่ประกอบกับ

                  มีแหลงรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรกระจายอยูทั่วไป จากปจจัยที่กลาวมาขางตนสามารถกําหนด
                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟตามความเหมาะสมของที่ดินดานกายภาพ และสภาพพื้นที่สําหรับ

                  การปลูกกาแฟพันธุโรบัสตาในภาคใตของประเทศไดเปน 4 เขต ดังนี้

                        4.1.1  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟที่มีความเหมาะสม (Z-I)

                             พื้นที่ในเขตนี้ที่ดินมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกกาแฟอยูในระดับปานกลาง (S2)

                  สภาพพื้นที่โดยทั่วไปมีลักษณะราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน (ความลาดชันนอยกวา 12 เปอรเซ็นต)

                  ลักษณะดินเปนดินลึกถึงลึกมาก มีการระบายน้ําดี มีเนื้อดินละเอียด และมีระดับความอุดมสมบูรณ
                  ตามธรรมชาติปานกลาง รวมถึงบางพื้นที่ที่มีขอจํากัดเล็กนอยเกี่ยวกับความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํา

                  เนื่องจากมีเนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย และดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย ทําใหดินมีความจุ

                  ในการอุมน้ําและความจุในการดูดยึดธาตุอาหารพืชคอนขางต่ํา






                  เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจกาแฟ                     สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237