Page 28 - beans
P. 28
2-12
ถั่วเหลือง
พบปลูกหลังการปลูกนาข้าว ผลผลิตถั่วเหลืองใช้ประกอบอาหาร เช่น น านมถั่วเหลือง
เต้าหู้ และอาหารสัตว์ กรมพัฒนาที่ดิน (2565) ท าการส ารวจพื นที่ปลูกถั่วเหลืองฤดูแล้งซึ่งลดลงมากจาก
ในอดีต ปัจจุบันพบพื นที่ปลูกทั่วประเทศ 47,265 ไร่ ปลูกมากในจังหวัดขอนแก่น 21,660 ไร่ จังหวัดชัยภูมิ
7,271 ไร่ และจังหวัดน่าน 3,517 ไร่ โดยตั งแต่ปี 2508 เป็นต้นมา กรมวิชาการเกษตร ได้ร่วมพัฒนา
พันธุ์และให้การรับรองพันธุ์ถั่วเหลืองที่เกษตรกรปลูกรวม 16 พันธุ์ คือ สจ.1, สจ.2, สจ. 5, เชียงใหม่ 60,
เชียงใหม่ 1, เชียงใหม่ 2, เชียงใหม่ 3, เชียงใหม่ 4, สุโขทัย 1, สุโขทัย 2, สุโขทัย 3, นครสวรรค์ 1, มข.35
(ขอรับรองพันธุ์จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น) และจักรพันธ์ 1 (ขอรับรองพันธุ์จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ซึ่งเป็นผลงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรมวิชาการเกษตร และมหาวิทยาลัยขอนแก่น)
ผลจากการวิจัยพันธุ์ตลอดจนเทคโนโลยีการผลิตถั่วเหลืองที่เกษตรกรสามารถน าไปปฏิบัติได้ ส่งผลให้
ผลผลิตของประเทศเพิ่มขึ นจากประมาณ 150 กิโลกรัมต่อไร่ ระหว่างปี 2521–2525 เป็น 230 กิโลกรัม
ต่อไร่ ในช่วงปี 2541–2545 (กลุ่มวิจัยและพัฒนาการอนุรักษ์ดินและน าพื นที่พืชไร่ ส านักวิจัยและ
พัฒนาการจัดการที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน, ม.ป.ป.)
ถั่วลิสง
ถั่วลิสงมีถิ่นก าเนิดอยู่ในตอนกลางของทวีปอเมริกาใต้ เป็นพืชล้มลุกตระกูลถั่ว มีลักษณะ
ล าต้นเดี่ยวตั งตรง หรือทอดยอดเป็นเถาเลื อย ผลออกเป็นฝักซึ่งจะออกที่ใต้ดิน ใช้รับประทาน ท าพันธุ์
สกัดน ามัน หรือน ามาประกอบอาหารต่าง ๆ การเพาะปลูกมีอยู่ทั่วประเทศ ปลูกมากที่สุดในภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ปัจจุบันพบพื นที่ปลูก 2,613 ไร่ (กรมพัฒนาที่ดิน 2565)
ปลูกมากในจังหวัดล าปาง 968 ไร่ จังหวัดพะเยา 788 ไร่ และจังหวัดร้อยเอ็ด 305
2.6.2 เนื อที่เพาะปลูก เนื อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่
ถั่วเขียว
การเพาะปลูกถั่วเขียวของประเทศไทย สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 รุ่น คือ ถั่วเขียวรุ่น 1
หรือถั่วเขียวฤดูฝน เกษตรกรจะท าการเพาะปลูกระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมของปีเดียวกัน
เก็บเกี่ยวช่วงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนมกราคม และถั่วเขียวรุ่น 2 หรือถั่วเขียวฤดูแล้ง เกษตรกรท า
การเพาะปลูก อยู่ระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายนในปีถัดไป เก็บเกี่ยวช่วงเดือนมกราคมถึง
เดือนมิถุนายนของปี (ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557)
พิจารณาการผลิตในช่วง 5 ปี ตั งแต่ปี 2560–2564 พบว่าเนื อที่เพาะปลูกถั่วเขียวรวมรุ่น
มีอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยลดลงอย่างต่อเนื่องทุกปี ร้อยละ 2.77 เนื่องจากประสบปัญหาปัจจัยการ
ผลิตมีราคาสูง เช่น ค่าเมล็ดพันธุ์ ค่าแรงงานในการเก็บเกี่ยว และค่ายาปราบศัตรูพืช ต้องใช้แรงงานสูง
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจพืชตระกูลถั่วฤดูแล้ง (ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง) กองนโยบานและแผนการใช้ที่ดิน