Page 25 - beans
P. 25
2-9
2.4 ทรัพยากรน ้า
2.4.1 แหล่งน ้าตามธรรมชาติ
1) แหล่งน ้าในภาคเหนือ
สภาพภูมิประเทศในภาคเหนือมีลักษณะเป็นภูเขาซึ่งมีที่ราบแคบ ๆ คั่นอยู่ระหว่างภูเขา
ดังนั น แหล่งน าภาคเหนือจึงเกิดจากภูเขาต่าง ๆ เหล่านั นและไหลอยู่ระหว่างหุบเขาโดยมีทิศทางลงสู่ที่
ราบภาคกลางและแม่น าโขง ซึ่งจะประกอบด้วยแม่น าสายส าคัญ ได้แก่ น าแม่กก แม่น าลาว แม่น าอิง แม่
น าปิง มีความยาวประมาณ 600 กิโลเมตร แม่น าวังมีความยาวประมาณ 300 กิโลเมตร แม่น ายมความ
ยาวทั งสิ นประมาณ 530 กิโลเมตร แม่น าน่านมีความยาวประมาณ 615 กิโลเมตร
2) แหล่งน ้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีแม่น าที่ส าคัญหลายสาย ได้แก่ แม่น าโขง เป็นแม่น าที่มี
สาขาที่เกิดจากแม่น าในประเทศหลายสาย ทั งในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แม่น ามูล
มีความยาวประมาณ 641 กิโลเมตร เป็นแม่น าสายส าคัญของอีสานตอนล่าง แม่น าชี มีความยาว
ประมาณ 765 กิโลเมตร เป็นแม่น าสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย และแม่น าสงคราม
3) แหล่งน ้าในภาคกลาง
สภาพภูมิประเทศของภาคกลาง มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มกว้างใหญ่ ซึ่งได้ชื่อว่าเป็น
อู่ข้าวอู่น าของประเทศไทย มีแม่น าที่ส าคัญ ได้แก่ แม่น าเจ้าพระยา ความยาวประมาณ 360 กิโลเมตร
แม่น าท่าจีน มีความยาวประมาณ 300 กิโลเมตร แม่น าน้อย มีความยาวประมาณ 145 กิโลเมตร แม่น า
ลพบุรี แม่น าป่าสัก แม่น าแม่กลอง แม่น าเพชรบุรี และแม่น าปราณบุรี
4) แหล่งน ้าในภาคตะวันออก
ภาคตะวันออก มีแม่น าที่ส าคัญหลายสาย ได้แก่ แม่น าบางปะกง แม่น าประแสร์ และ
แม่น าระยอง
5) แหล่งน ้าในภาคใต้
ภาคใต้ มีแม่น าที่ส าคัญหลายสาย ได้แก่ แม่น าท่าตะเภา แม่น ากระบุรี แม่น าหลังสวน
แม่น าคีรีรัฐ แม่น าตาปี แม่น าตรัง แม่น าปัตตานี แม่น าสายบุรี และแม่น าโก-ลก
2.4.2 โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดิน
มีการก่อสร้างโครงการพัฒนาแหล่งน าผิวดินทั งโครงการขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก
และสูบน าด้วยไฟฟ้ารูปแบบต่างๆ มีรายละเอียดโดยสรุปดังนี (ตารางที่ 2-4 และ 2-5) (กรมชลประทาน, 2554)
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจพืชตระกูลถั่วฤดูแล้ง (ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง) กองนโยบานและแผนการใช้ที่ดิน