Page 20 - beans
P. 20

2-4





                           2) ฤดูฝน เริ่มต้นประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม จะมีช่วงฝนทิ งช่วง

                  ประมาณปลายเดือนมิถุนายน ประมาณ 1–2 สัปดาห์ หรือบางปีนาน 1 เดือน และเดือนกรกฎาคม เป็นต้น

                  ไปจะมีฝนตกต่อเนื่อง ยกเว้นภาคใต้ที่มีฝนตกต่อไปจนถึงเดือนธันวาคม และฝนตกหนักมากโดยเฉพาะ
                  ภาคใต้ฝั่งตะวันออก การเริ่มต้นฤดูฝนอาจจะช้าหรือเร็วกว่าก าหนดได้ประมาณ 1–2 สัปดาห์

                          3) ฤดูหนาว เริ่มต้นประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ในช่วงกลาง

                  เดือนตุลาคม ประมาณ 1–2 สัปดาห์ เป็นช่วงเปลี่ยนฤดูจากฤดูฝนเป็นฤดูหนาว อากาศแปรปรวน
                  ไม่แน่นอนอาจเริ่มมีอากาศเย็นหรืออาจยังมีฝนฟ้าคะนอง โดยเฉพาะบริเวณภาคกลางตอนล่างและ

                  ภาคตะวันออกลงไป ซึ่งจะหมดฝนและเริ่มมีอากาศเย็นช้ากว่าภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                        ลมมรสุม ประเทศไทยตั งอยู่ในคาบสมุทรอินเดีย ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุม 2 ชนิด ได้แก่

                  ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ จะพัดปกคุลมประเทศไทยระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม

                  น ามวลอากาศชื นจากมหาสมุทรอินเดียมาสู่ประเทศไทยท าให้มีเมฆมากและฝนตกชุกทั่วไป โดยเฉพาะ
                  อย่างยิ่งบริเวณชายฝั่งทะเลและเทือกเขาด้านรับลมจะมีฝนตกมากกว่าบริเวณอื่น และ ลมมรสุม

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ จะพัดพาเอามวลอากาศเย็นและแห้งปกคลุมประเทศไทยระหว่าง
                  กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ท าให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็น และแห้งแล้งทั่วไป

                  โดยเฉพาะภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคใต้จะมีฝนตกชุกโดยเฉพาะภาคใต้ฝั่ง

                  ตะวันออก เนื่องจากมรสุมนี น าความชุ่มชื น


                  2.3  ทรัพยากรที่ดิน

                        ทรัพยากรดินเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความส าคัญ ซึ่งจ าเป็นต่อการท าเกษตรกรรมและ
                  การด ารงชีพของมนุษย์ ดินเกิดจากการผุพังสลายตัวของหินและแร่ต่าง ๆ มารวมตัวหรือทับถมแล้วผสม

                  คลุกเคล้ากับอินทรียวัตถุตามกระบวนการเกิดดินต่าง ๆ โดยได้รับอิทธิพลจากสภาพภูมิประเทศ

                  ภูมิอากาศ พืชพรรณและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ชนิดของวัตถุต้นก าเนิด และระยะเวลาของการเกิดดิน ซึ่ง
                  ความแตกต่างกันของสภาพแวดล้อมหรือปัจจัยที่กล่าวมาแล้วนั น จะส่งผลให้ดินในแต่ละพื นที่มีลักษณะ

                  ของดิน และความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ที่ดินที่แตกต่างกัน
                        กรมพัฒนาที่ดิน ได้พิจารณาจัดหมวดหมู่ลักษณะและสมบัติดินที่มีศักยภาพคล้ายคลึงกัน

                  ในด้านที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตของพืชที่ปลูก ออกเป็น 62 กลุ่มชุดดิน โดยแบ่งตาม

                  สภาพพื นที่พบได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ ซึ่งมีรายละเอียดดังตารางที่ 2-1
                          1) กลุ่มชุดดินในพื นที่ลุ่มหรือพื นที่น  าขัง พบทุกภาคของประเทศ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1–25

                  และกลุ่มชุดดินที่ 57–59












                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจพืชตระกูลถั่วฤดูแล้ง (ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง)            กองนโยบานและแผนการใช้ที่ดิน
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25