Page 18 - beans
P. 18
2-2
ทางด้านตะวันออกมีลักษณะราบเรียบเป็นบริเวณที่มีเขตน าตื นกว้าง ส่วนด้านตะวันตกมีลักษณะขรุขระ
และเว้าแหว่ง ฝั่งทะเลมีความลาดชันมาก แม่น าที่ส าคัญในภาคนี ส่วนใหญ่เป็นสายสั น ๆ ไหลลงสู่ทะเล
ได้แก่ แม่น าชุมพร แม่น าตาปี แม่น าปากพนัง แม่น าโก-ลก แม่น าปากจั่น แม่น ากระบุรี และแม่น าตรัง
2.2 สภาพภูมิอากาศ
ประเทศไทยตั งอยู่ในเขตร้อนใกล้เส้นศูนย์สูตร ท าให้ภูมิอากาศของประเทศมีลักษณะเป็น
แบบร้อนชื นหรือภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าสะวันนา (Aw) ตามการแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน ยกเว้น
ภาคใต้และทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออก เป็นเขตภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน (Am) จาก
ลักษณะดังกล่าวส่งผลให้ประเทศไทยสามารถปลูกพืชได้หลากหลายชนิด ซึ่งลักษณะของภูมิอากาศที่มี
ผลต่อการท าการเกษตรของประเทศไทย มีรายละเอียดดังนี
ปริมาณน ้าฝน จากข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา (2565) ช่วงปี 2535–2564 พบว่าแต่ละภาคมี
ปริมาณน าฝนรวมเฉลี่ยตลอดปี ดังนี ภาคเหนือ 1,347.4 มิลลิเมตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1,333.3
มิลลิเมตร ภาคกลาง 1,375.2 มิลลิเมตร ภาคตะวันออก 1,475.1 มิลลิเมตร และภาคใต้ 2,391.3
มิลลิเมตร โดยเส้นชั นน าฝนเท่าแสดงดังรูปที่ 2-1
ความชื นสัมพัทธ์ จากข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา (2565) ช่วงปี 2535–2564 พบว่าแต่ละภาค
มีความชื นสัมพันธ์เฉลี่ยตลอดปี ดังนี ภาคเหนือ ร้อยละ 75 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 74 ภาคกลาง
ร้อยละ 76 ภาคตะวันออก ร้อยละ 76 และภาคใต้ ร้อยละ 81
อุณหภูมิ จากข้อมูลของกรมอุตุนิยมวิทยา (2565) ช่วงปี 2535–2564 พบว่าแต่ละภาคมีอุณหภูมิ
เฉลี่ยตลอดปี ดังนี ภาคเหนือ 27 องศาเซสเซียส ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 27 องศาเซสเซียส ภาคกลาง
27 องศาเซสเซียส ภาคตะวันออก 28 องศาเซสเซียส และภาคใต้ 27 องศาเซสเซียส อย่างไรก็ตาม
อุณหภูมิจะแตกต่างกันไปในแต่ละพื นที่ของแต่ละฤดูกาล โดยเฉพาะในเดือนเมษายนเป็นเดือนที่มี
อากาศร้อนจัดที่สุดในรอบปี ส่วนฤดูหนาวอุณหภูมิต่ าสุด โดยเฉพาะในเดือนธันวาคมถึงมกราคม
เป็นช่วงที่มีอากาศหนาวมากที่สุดในรอบปี โดยภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อุณหภูมิจะ
ลดลงต่ ากว่าจุดเยือกแข็ง ภาคตะวันออกตอนล่างและภาคใต้ ความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างวันและ
ฤดูกาลไม่มาก โดยฤดูร้อนอากาศไม่ร้อนจัด ฤดูหนาวอากาศไม่หนาวจัดเท่าพื นที่ที่อยู่ลึกเข้าไปในพื นดิน
ฤดูกาล ประเทศไทยแบ่งออกได้เป็น 3 ฤดู ดังนี
1) ฤดูร้อน ระหว่างกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือนพฤษภาคม จะมีอากาศร้อนและแห้งแล้ง
แต่บางครั งอาจมีมวลอากาศเย็นจากสาธารณรัฐประชาชนจีนแผ่ลงมาปกคลุมถึงประเทศไทยตอนบน
ท าให้เกิดการปะทะกันของมวลอากาศเย็นกับมวลอากาศร้อนที่ปกคลุมอยู่เหนือประเทศไทย ก่อให้เกิด
พายุฝนฟ้าคะนอง และลมกระโชกแรง หรืออาจมีลูกเห็บตก ก่อให้เกิดความเสียหายได้ พายุฝนฟ้า
คะนองที่เกิดขึ นในฤดูนี มักถูกเรียกว่า “พายุฤดูร้อน”
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจพืชตระกูลถั่วฤดูแล้ง (ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง) กองนโยบานและแผนการใช้ที่ดิน