Page 16 - beans
P. 16
1-6
1) ประเมินคุณภาพที่ดินแยกตามประเภทพืชที่มีความเป็นไปได้ที่จะปลูกในพื้นที่ โดย
จ้าแนกระดับความเหมาะสมของที่ดิน เป็น 4 ระดับ ดังนี้
S1 หมายถึง เหมาะสมสูง (ไม่มีข้อจ้ากัดตามปัจจัยที่ใช้พิจารณา)
S2 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง (มีข้อจ้ากัดบางประการที่แก้ไขได้ง่าย)
S3 หมายถึง เหมาะสมเล็กน้อย (มีข้อจ้ากัดบางประการที่แก้ไขได้ยาก)
N หมายถึง ไม่เหมาะสม (มีข้อจ้ากัดบางประการที่แก้ไขได้ยากมากและใช้ทุนสูง)
2) จัดท้าร่างเขตการใช้ที่ดินพืชตระกูลถั่ว โดยการซ้อนทับข้อมูลในระบบสารสนเทศ
ภูมิศาสตร์เพื่อน้ามาเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในแต่ละชั้นข้อมูล รวมทั้ง การพิจารณาความเหมาะสมตาม
ศักยภาพของแต่ละพื้นที่ โดยยึดหลักให้เกิดการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน
1.4.4 การประมวลผลการด้าเนินงานและจัดท้าเล่มเอกสาร “การก้าหนดเขตการใช้ที่ดินพืช
ตระกูลถั่ว (ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และถั่วลิสง)”
1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.5.1 ประเทศไทยมีแผนการก้าหนดเขตการใช้ที่ดินพืชตระกูลถั่ว เป็นกรอบแนวทางการ
ด้าเนินงานส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากระดับต้นน้้าของประเทศอย่างมีบูรณาการและยั่งยืน
1.5.2 ส่วนราชการและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสถาบันการศึกษาสามารถใช้เอกสาร
การก้าหนดเขตการใช้ที่ดินพืชตระกูลถั่ว เพื่อการอ้างอิง ประยุกต์ใช้ และประกอบบทเรียน
1.5.3 การใช้ที่ดินเพื่อพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรพืชตระกูลถั่วตรงตามสมรรถนะและคุณสมบัติ
ของที่ดิน และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
1.6 ผู้ด ำเนินงำน
1.6.1 ที่ปรึกษำ
(1) นายนายเชฏฐรุจ จันทร์แปลง ผู้อ้านวยการกองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
(2) นางสาวกรรณิสา สฤกษ์สิริ ผู้อ้านวยการกลุ่มนโยบายและวางแผนการใช้ที่ดิน
1.6.2 คณะผู้จัดท ำ
(1) นางสาววรนุช เอมมาโนชญ์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช้านาญการ
(2) นางสาวกัลยา ด ารงสัจจ์ศิริ นักวิชาการเกษตรช านาญการพิเศษ
(3) นายอดิศร ใจชื้น นักส ารวจดินช านาญการพิเศษ
(4) นางสาวนิธินันท์ เม้ยชม เศรษฐกร
(5) นางสาวดวงหทัย ศรีช่วย นักวิชาการเกษตร
เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจพืชตระกูลถั่วฤดูแล้ง (ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วลิสง) กองนโยบานและแผนการใช้ที่ดิน