Page 127 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 127

4-3





                                                         ่
                                                                                         ี
                                                                                         ่
                  และการขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง และเปนบริเวณทีมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของทดินปานกลาง (S2)
                                                                     ื
                                                                        ่
                                                                        ี
                                                                                                    ื้
                                                                                  ้
                                       ิ
                                                                                        ิ
                  สำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมศาสตร สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพ้นทปลูกพืชบงชีทางภูมศาสตร อยูในพนท ี่
                  ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิต
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร แตมีการจัดการพื้นที่โดยการยกรอง มีแหลงน้ำชลประทาน หรือแหลงน้ำธรรมชาต  ิ
                  สำหรับเขตกรรมในชวงฝนทิ้งชวง ปจจุบันเกษตรกรปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และมีการรวมกลุม
                                                                                                      
                                         
                  ของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและการขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง
                                                                      ิ
                           2) เขตเหมาะสมปานกลางสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมศาสตร (Z-II)
                             เปนบริเวณทีมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของทีดินปานกลาง (S2) สำหรับปลูกพืชบงชี ้
                                        ่
                                                                        ่
                  ทางภูมิศาสตร สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร อยูในพื้นที่ตามประกาศ
                  ขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา ซึ่งอยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิต
                                                                                                ี
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร มีการจัดการพื้นที่โดยการยกรองสำหรับพืชไร ไมยืนตน หรือไมผล และมแหลงน้ำ
                                                                                             ี
                                                ิ้
                                                                                  ิ
                  ธรรมชาติสำหรับเขตกรรมในชวงฝนทงชวง ปจจุบันเกษตรกรปลูกพืชบงชี้ทางภูมศาสตร และมการรวมกลุม
                  ของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและการขนสงผลผลิตที่เขมแข็ง มีการขึ้นทะเบียน
                                                                                                      ั
                  เกษตรกรผูปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรกับกรมสงเสริมการเกษตร มีการขึ้นทะเบียนสินคา GI กบ
                                                      ่
                                                                                         ่
                  กรมทรัพยสินทางปญญา หรือเปนบริเวณทีมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของทีดินเล็กนอย (S3)
                                                                                   ้
                                       ิ
                  สำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมศาสตร สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพนทปลูกพชบงชีทางภูมศาสตร อยูในพนท ี่
                                                                                        ิ
                                                                         ี่
                                                                              ื
                                                                      ื้
                                                                                                    ื้
                  ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิต
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร แตมีการจัดการพื้นที่โดยการยกรอง มีแหลงน้ำชลประทาน และแหลงน้ำธรรมชาต  ิ
                  สำหรับเขตกรรมในชวงฝนทิ้งชวง ปจจุบันเกษตรกรปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร และมีการรวมกลุม
                                                                                                      
                  ของเกษตรกร มีการจัดตั้งองคกรดูแลดานการตลาดและการขนสงผลผลิตที่เขมแขง พื้นที่ปลูกนี้เปนพนท ี่
                                                                                                    ื้
                                                                                     ็
                                          
                                      
                             ่
                   ่
                          ั
                     ี
                  ทีมขอจำกดทีสามารถแกไขไดงาย และมีการจัดการดานเครือขายการตลาดเพอขนสงผลผลิตสูตลาด
                                                                               ื่
                           3) เขตเหมาะสมเล็กนอยสำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Z-II)
                                                                         ่
                             เปนบริเวณซึ่งมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของทีดินเล็กนอย (S3) หรือไมเหมาะสม (N)
                  สำหรับปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตามประกาศขนทะเบียน GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา อยูในบริเวณทไม 
                                                                                                     ี่
                                                        ึ
                                                        ้
                  ไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตพืช GI สภาพการใชที่ดินปจจุบันเปนพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                  แตเปนพื้นทีทีมีขอจำกัดที่สามารถแกไขได แตตองมีการลงทนเพอจัดการพืนที่โดยใชงบประมาณคอนขางสูง
                             ่
                                                                             ้
                            ่
                                                                  ุ
                    
                                                                     ื
                                                                     ่
                                 ่
                                  ี
                  เชน พื้นที่ดินเค็มทีมน้ำทะเลทวมถึง เปนตน
                           4) เขตเหมาะสมมากสำหรับการขยายพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Z-E1)
                             เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมากสำหรับการขยายพื้นที่ปลูกพืช GI เปนบริเวณซึ่ง
                           ั
                                                                                      ี
                   ี
                  ทดินมีระดบความเหมาะสมทางกายภาพของดนสูง (S1) สำหรับการปลูกพช GI และมระดบความเหมาะสม
                                                                                          ั
                   ่
                                                                             ื
                                                       ิ
                  ทางกายภาพของดินปานกลาง (S2) สำหรับการปลูกพืช GI อยูในพื้นที่ชลประทาน หรือมีแหลงน้ำเพอ
                                                                                                      ื
                                                                                                      ่
                                                                                               ึ้
                                                                
                  การเขตกรรมอยางเพียงพอ สภาพการใชที่ดินปจจุบันไมไดปลูกพืช GI อยูในพื้นที่ตามประกาศขนทะเบียน
                  GI ของกรมทรัพยสินทางปญญา มีการใชประโยชนเพื่อกิจกรรมการเกษตรอื่น ๆ ที่ไมตรงตามศักยภาพ
                  แตมีความเหมาะสมสูงตอการปลูกพืช GI ที่อยูในบริเวณที่ไมไกลจากแหลงรับซื้อผลผลิตพืช GI
                                                              ิ
                                 ่
                                                                                      ิ
                              ื
                                 ี
                  มการจัดการพ้นทโดยการยกรอง มีแหลงน้ำธรรมชาตสำหรับเขตกรรมในชวงฝนท้งชวง
                   ี
                           5) เขตเหมาะสมปานกลางสำหรับขยายพื้นที่ปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (Z-E2)
                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132