Page 128 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 128

4-4





                             เปนบริเวณซึ่งมีระดับความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินปานกลาง (S2) สำหรับปลูก

                  พืช GI แตสภาพการใชที่ดินปจจุบันไมไดปลูกพืช GI อยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI ของ
                                        ี
                  กรมทรัพยสินทางปญญา มการใชประโยชนเพื่อกิจกรรมการเกษตรอื่น ๆ ที่สามารถปรับเปลี่ยนมาปลูก
                  พืช GI เนื่องจากผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงกวาพืชที่เกษตรกรปลูกอยูเดิม อยูในบริเวณที่ไมไกลจาก

                  แหลงรับซื้อผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร มีการจัดการพื้นที่โดยการยกรอง มีแหลงน้ำธรรมชาติสำหรับ
                                  ิ
                  เขตกรรมในชวงฝนทงชวง
                                  ้
                             ในการพิจารณากำหนดเปาหมายการปลูกพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของกองนโยบายและ
                  แผนการใชที่ดิน ไดพิจารณาตามแนวทางการจัดทำเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร 6 ชนิด

                  ประกอบดวย สมโอนครชัยศรี ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม พริกบางชาง ในพื้นที่จังหวัดราชบุรีและ
                  สมุทรสงคราม ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม
                  มะพราวน้ำหอมบานแพว และลำไยพวงทองบานแพว ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร โดยพิจารณา
                  และวิเคราะหขอมูลสถิติผลผลิตรวมของทั้งพื้นที่ภูมิศาสตรนั้น ๆ โดยตั้งเปาหมายใหเพิ่มผลผลิต

                                                                                                      ั
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ใหเพียงพอกับความตองการภายในประเทศ และการสงออก จะมีการยกระดบ
                                                     ี
                                                     ่
                  ผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรตอพื้นทในพื้นที่เหมาะสมระดับตาง ๆ ดังนั้น ในการกำหนดเขต
                  ความเหมาะสมของพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร ในครั้งนี้จึงตองรักษาระดับการเพาะปลูกเดิมไว โดยจะตอง
                  มีเปาหมายการผลิตและเพิ่มผลผลิตตอไรใหไดตามเปาหมาย หากสามารถทำไดตามเปาหมายที่ตั้งไว

                                                                ั
                  ในระยะเวลา 2-3 ป ขางหนา ประเทศไทยกจะไมประสบกบปญหาขาดแคลนผลผลิตพืชบงชี้ทางภูมศาสตร
                                                     ็
                                                                                                 ิ
                                                         
                  และจะไมมีปญหาเรื่องสินคาพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรลนตลาด หรือประสบกับราคาผลผลิต
                  พืชบงชีทางภูมิศาสตรตกต่ำ แตทั้งนี้ รัฐตองเขามาใหความชวยเหลือดานการควบคุมกลไกราคาอยางจริงจัง
                        ้
                  และตองมมาตรการการชดเชยรายไดใหเกษตรกรในกรณีเกษตรกรมีการใชพื้นที่ที่เหมาะสมสูงในการปลูก
                          ี
                            ี
                                 ึ
                                                    
                  พืช GI และมการขนทะเบียนเปนเกษตรกรผูปลูกพืช GI กบกรมสงเสริมการเกษตร สำหรับเปาหมายการผลิต
                                 ้
                                                               ั
                  พืชบงชี้ทางภูมิศาสตรจะยึดหลักเกณฑตามประกาศของกรมทรัพยสินทางปญญา และการกำหนดเขต
                  การใชที่ดินจะยึดตามการปลูกพืชบงชีทางภูมิศาสตรที่มีการใชประโยชนที่ดินในปจจุบัน และพื้นท  ี ่
                                                   ้
                  ที่ยังไมมีการปลูกพืช GI แตมีศักยภาพเหมาะสม และอยูในพื้นที่ตามประกาศขึ้นทะเบียน GI
                                                         
                  ของกรมทรัพยสินทางปญญา 6 ชนิด ประกอบดวย สมโอนครชัยศรี ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม พริกบางชาง
                  ในพื้นที่จังหวัดราชบุรี และสมุทรสงคราม ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม ในพื้นท ่ ี
                  จังหวัดสมุทรสงคราม มะพราวน้ำหอมบานแพว และลำไยพวงทองบานแพว ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร
                  4.2  เขตการใชที่ดิน

                                         
                        จากการใชหลักเกณฑการจัดทำเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรชนิดตาง ๆ สามารถกำหนด
                  เขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทยไดเปนเขตการใชที่ดินของพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร
                                                                   
                  6 ชนิด ประกอบดวย สมโอนครชัยศรี พริกบางชาง ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม
                                                                                           
                                                                ี
                                                                       ี
                  มะพราวน้ำหอมบานแพว และลำไยพวงทองบานแพว มรายละเอยดดังนี้
                        4.2.1 การจัดทำเขตการใชที่ดินสมโอนครชัยศรี พิจารณากำหนดเขตจากพื้นที่ปลูกตามประกาศ
                  ของกรมทรัพยสินทางปญญา โดยพิจารณาจากปริมาณความตองการของตลาดในประเทศและ
                  ตางประเทศและปริมาณความตองการบริโภคในประเทศ ในป พ.ศ. 2564 พบวา ผลผลิตสมโอนครชัยศรี







                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133