Page 125 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 125

่
                                                        บทที 4
                                                    เขตการใชท่ดิน
                                                                 ี
                                                                
                        การจัดทำเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ สามารถ
                                                    ี่
                           ื
                                          ุ
                                                             ื่
                                                         
                                                      ี่
                  นำไปใชเพ่อบูรณาการงานทกภาคสวนทเกยวของเพอสนองนโยบายของรัฐบาลได เนื่องจาก กระทรวง
                  เกษตรและสหกรณมียุทธศาสตรหนึ่งที่มุงเนนการพัฒนาการเกษตร ตั้งแตการผลิต การแปรรูป
                  การตลาดแบบครบวงจร การอารักขาพืช และเฝาระวังโรคแมลงศัตรูพืชที่ระบาด เขตการใชที่ดน
                                                                                                      ิ
                  ภาคการเกษตรที่จัดทำขึ้น จึงสามารถนำมาใชพิจารณาจัดทำยุทธศาสตรในการเพิ่มประสิทธิภาพ
                  การผลิตเชิงพื้นที่ไดโดยการนำเทคโนโลยีตาง ๆ มาชวยเพิ่มผลผลิตตอพื้นที่ พรอมดำเนินการตามยุทธศาสตร
                  การปรับเปลี่ยนการผลิตใหเหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่ โดยเลือกกิจกรรมการเพาะปลูก
                  ที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการบริโภคภายในประเทศ รวมถึง
                  การสงออกและนำเขากับตลาดตางประเทศอยางเพียงพอ นอกจากนี้ ที่ผานมากระทรวงเกษตรและ
                  สหกรณสงเสริมงานวิจัยเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตพืชสูเปาหมายเกษตรมูลคาสูง เนนการพัฒนาพันธุพช
                                                                                                      ื
                  ที่มีศักยภาพสูง การใชเทคโนโลยีการผลิตแบบเกษตรอัจฉริยะ การแปรรูปสรางมูลคาและแบรนดที่เปน
                                        ั้
                                                                         
                  เอกลักษณ การขยายตลาดทงในและตางประเทศเชื่อมโยงตลอดหวงโซการผลิตพืช เพื่อเพมขดความสามารถ
                                                                                        ิ่
                                                                                           ี
                           ั
                         
                                                                                                 ิ
                  ในการแขงขนและความมนคงทางอาหารของประเทศ ดังนั้น การจัดทำเขตการใชทดินพชบงชีทางภูมศาสตร
                                      ่
                                      ั
                                                                                           ้
                                                                                   ี่
                                                                                       ื
                  ของโครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย ที่มุงเนนการพัฒนาการเกษตร
                                       
                  ทงระบบ ควรมีหลักเกณฑและเขตการใชที่ดิน ดังนี้
                   ั
                   ้
                                                     
                  4.1  หลักเกณฑกำหนดเขตการใชที่ดิน
                        กรมพัฒนาที่ดินไดมีการวิเคราะหเพื่อกำหนดเขตการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร 6 ชนิด
                  ประกอบดวย สมโอนครชัยศรี ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม พริกบางชาง ในพื้นที่จังหวัดราชบุรี และ
                  สมุทรสงคราม ลิ้นจี่คอมสมุทรสงคราม สมโอขาวใหญสมุทรสงคราม ในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม
                                                                            ุ
                                                                                           ิ
                  มะพราวน้ำหอมบานแพว และลำไยพวงทองบานแพว ในพื้นที่จังหวัดสมทรสาคร โดยไดพจารณากำหนด
                                                                                         
                  เขตการใชที่ดิน ทั้งในเขตเกษตรกรรม และในเขตพื้นที่ปาไมตามกฎหมาย แตเนื่องจากปจจุบันสถานการณ 
                                                                                            ื
                                   ้
                              ื
                                         ิ
                  การเพาะปลูกพชบงชีทางภูมศาสตรของประเทศไทย ไดรับผลกระทบบางเล็กนอยในบางชนิดพช การกำหนด
                  ราคารับซื้อของพืช GI บางชนิดเปนไปตามกลไกโรงงาน หรือพอคาคนกลาง เนื่องจากพืช GI เชน พริกบาง
                  ชาง เปนตน ราคารับซื้อจึงไมมีความแตกตางระหวางพืช GI และพืชที่ปลูกโดยปกติทั่วไป ทำใหมีการยาย
                  ฐานการผลิต และการเพาะปลูกไปในพื้นที่อื่นที่อยูใกลแหลงรับซื้อ อีกทั้งปญหาขอจำกัดดานการผลิต
                                                                                                      ื่
                  ยังมีอยูมาก เนื่องจากพืช GI เปนพืชที่ตองการดูแลรักษาเปนอยางมาก เนื่องจากเปนพืชมูลคาสูง เมอ
                                                                          ุ
                  เปรียบเทยบกับสินคาเกษตรชนิดเดียวกัน ในขั้นตอนการผลิตตองควบคมผลผลิตใหไดคุณภาพ ปราศจากโรค
                                                                                     
                         ี
                  แมลง และสารเคม เพื่อใหเปนไปตามขั้นตอนและระเบียบปฏิบัติของสินคาที่มการขึ้นทะเบียนสินคา GI
                                                                                  ี
                                 ี
                  ประกอบกับราคาของสินคา GI ในระยะ 3-4 ปที่ผานมาไมมีความแตกตางจากสินคาทั่วไป เนื่องจาก
                                                              
                           
                                                                                               ื
                                                                          
                  สถานการณของโรคติดเชื้อ COVID-19 ทำใหราคาสินคา GI ต่ำกวาปกอน ๆ สงผลใหพื้นที่ปลูกพชบงชี้ทาง
                                                            ั
                                                                                              ิ
                  ภูมศาสตรบางชนิดลดนอยลง หากรัฐไมใหความสำคญในการกำหนดยุทธศาสตรพืชบงชี้ทางภูมศาสตร การ
                     ิ
                  ควบคมกลไกราคาไมใหราคาผลผลิตพช GI ตกต่ำ พื้นที่เพาะปลูกพชบงชีทางภูมศาสตรของประเทศไทยจะ
                                   
                       ุ
                                                ื
                                                                                  ิ
                                                                            ้
                                                                       ื
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130