Page 120 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 120

3-70





                  ศักยภาพและผลิตภาพสูงขึ้น รวมทั้ง ใหความสำคัญกับการสรางหลักประกันและความคุมครองทาง
                  สังคมที่สามารถสงเสริมความมั่นคงในชีวิต

                                                                                                      ิ
                                (3) การมุงสูสังคมแหงโอกาสและความเปนธรรม มุงลดความเหลื่อมลาทางเศรษฐกจ
                                                                  ั
                  และสังคม ทั้งในเชิงรายได พื้นที่ ความมั่งคั่ง และการแขงขนของภาคธุรกิจ ดวยการสนับสนุนชวยเหลือ
                  กลุมเปราะบางและผูดอยโอกาสใหมีโอกาสในการเลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม กระจายโอกาส
                                                                             
                                                                                                      ิ่
                                                                                      ุ
                  ทางเศรษฐกิจ และจัดใหมีบริการสาธารณะที่มีคุณภาพอยางทั่วถึงและเทาเทียมในทกพื้นที่ พรอมทั้งเพม
                  โอกาสในการแขงขันของภาคธุรกิจใหเปดกวางและเปนธรรม
                                (4) การเปลี่ยนผานการผลิตและบริโภคไปสูความยั่งยืน มุงลดการกอมลพิษ ควบคูไป
                  กับ การผลักดันใหเกิดการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมประสิทธิภาพและสอดคลองกับขีดความสามารถ
                                                               ี
                  ในการรองรับของระบบนิเวศ ตลอดจนลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกเพื่อใหประเทศไทยบรรลุ
                  เปาหมายความเปนกลางทางคารบอนภายในป 2593 และบรรลุเปาหมายการปลอยกาซเรือนกระจก
                  สุทธิ เปนศูนยภายในป 2608
                                (5) การเสริมสรางความสามารถของประเทศในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและ
                  ความเสี่ยงภายใตบริบทโลกใหม มุงสรางความพรอมในการรับมือและแสวงหาโอกาสจากการเปนสังคม
                  สูงวัย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยโรคระบาด และภัยคุกคามทางไซเบอร พัฒนาโครงสราง

                   ื
                   ้
                  พนฐานและกลไกทางสถาบันที่เออตอการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัล รวมทั้งปรับปรุงโครงสรางและระบบการ
                                             ื้
                  บริหารงานของภาครัฐใหสามารถตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของบริบททางเศรษฐกิจ สังคม และ
                  เทคโนโลยีไดอยางทันเวลา มีประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล
                                      ั
                        3.4.2 นโยบายพฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ      
                            นโยบายพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ที่ดำเนินการตามแผนระยะสั้น
                  และแผนระยะยาวของกระทรวง มีรายละเอียดดังนี้

                             1) นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ตามแผน 5 ป พ.ศ. 2566-2570
                                               ั
                  ประกอบดวยยุทธศาสตรตาง ๆ ดงนี  ้
                                         
                                   (1) ยุทธศาสตรท่ 1 สรางความเขมแข็งใหกบเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
                                                                        ั
                                                 ี
                                                                                         ี
                                      (1.1) ขยายผลการทำการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกจพอเพยง
                                                                                   ิ
                                      (1.2) เสริมสรางความภาคภูมใจ และความมนคงในการประกอบอาชีพเกษตรกร
                                                             ิ
                                                                         ั
                                                                         ่
                                      (1.3) สงเสริมการทำเกษตรกรรมยั่งยืนใหเห็นผลในทางปฏิบัติ
                                                                             ื
                                                                     
                                                   
                                      (1.4) พฒนาองคความรูของเกษตรกรสูเกษตรกรมออาชีพ
                                            ั
                                                        
                                      (1.5) สรางความเขมแข็งและเชื่อมโยงเครือขายของเกษตรกร และสถาบัน
                  เกษตรกร
                                                                                  
                                                                                                ุ
                                   (2) ยุทธศาสตรที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินคาเกษตรตลอดโซอปทาน
                                                                                               
                                      (2.1) สงเสริมการผลิตสินคาเกษตรใหไดมาตรฐานรองรับความตองการของตลาด
                                      (2.2) สงเสริมการบริหารจัดการโซอุปทานสินคาเกษตร
                                   (3) ยุทธศาสตรที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแขงขันภาคการเกษตรดวยเทคโนโลยี
                                      (3.1) สงเสริมและสนับสนุนการวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมดานการเกษตร
                                      (3.2) พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตรและเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบ






                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125