Page 119 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 119

3-69





                  แผนในระดับตาง ๆ ที่สนับสนุนการยกระดับ ภาคการผลิตสูอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต ทงเพอ
                                                                                                      ื่
                                                                                                   ั้
                  พลิกฟนสภาวะทางเศรษฐกิจจากสถานการณ การแพรระบาดของโควิด-19 และผลักดันการพัฒนาสาขา
                  การผลิตที่จะมีบทบาทในการขับเคลื่อน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในระยะตอไป
                                           ่
                  โดยเรงตอยอดอุตสาหกรรมทีไทยมีศักยภาพ และมีความไดเปรียบ ประยุกตผสมผสานกับเทคโนโลยีใน
                  การยกระดับผลิตภาพในภาพรวมใหสามารถผลิตสินคาและบริการที่มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้นไดในระยะเวลาท ่ ี
                                                                                
                  สั้นลง โดยการลงทุนวิจัยและพัฒนาตอยอดจาก องคความรูเดิมเพื่อสรางนวัตกรรมใหเกิดเปนทรัพยสิน
                  ทางปญญาของไทยที่เนนคุณคาและความยั่งยืน พรอมไปกับการสรางอุตสาหกรรมใหมแหงอนาคตท ี ่
                                                                                                  ั
                                                                                             
                    ่
                                ิ
                                                  
                  เชือมโยงเศรษฐกจภายในประเทศใหเขากบทิศทาง การเปลี่ยนแปลงของตลาดโลก เพื่อลดขอจากดดาน
                                                    ั
                  ขนาดของกาลังซื้อภายในประเทศที่มแนวโนมหดตัวลง โดยการผลักดันใหมีการพัฒนาคุณภาพปจจัยการ
                                                ี
                  ผลิต พรอมทั้งเสริมสรางนิเวศการแขงขันที่เปนธรรม ยกระดับการเชื่อมโยงหวงโซมูลคาโลก ตลอดจนใช
                  ประโยชนจากระบบโครงสรางพื้นฐานที่ไทยไดมีการวางระบบไวแลวใหเต็มประสิทธิภาพ พรอม
                  ประยุกตใชเทคโนโลยีและสรางนวัตกรรมเพื่อปรับปรุงผลิตภาพของแรงงาน ใหมีความสอดคลองกับ
                  เปาหมายในการปรับเปลี่ยนสูอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคตที่สรางมูลคาเพิ่มสูง การพัฒนาใน
                  ระยะตอไปจึงอยูที่การเพิ่มศกยภาพของภาคการผลิต รวมถึงเรงยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินคาและ
                                          ั
                  บริการหลักของไทยใหสอดคลองกับความตองการของตลาดและการเปลี่ยนแปลงหวงโซมูลคาโลก โดย

                  มุงเปาในการเรงพัฒนาภาคการผลิตและบริการเปาหมายรายสาขาที่สำคัญของประเทศ ไดแก การ
                  ยกระดับภาคการเกษตรสูการผลิตสินคาเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลคาสูง ที่ใชประโยชนจากเทคโนโลยี
                                                                           
                  ในการเพิ่มผลิตภาพ ลดการพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติ และเพิ่มมูลคาใหกับผลผลิตสูอุตสาหกรรมอาหาร
                  มูลคาสูง การดำเนินยุทธศาสตรใหประเทศไทยเปนประตูการคาการลงทุนและยุทธศาสตรทางโลจิสติกส
                  ที่สำคัญของภูมภาค โดยเรงยกระดับการเชื่อมตอระหวางพื้นที่ทั้งในและระหวางประเทศ พรอมทง
                                                                                                      ้
                               ิ
                                                                                                      ั
                  พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานดิจิทัลและโลจิสติกส เพื่ออานวยความสะดวกดานการคาการลงทุน
                                การกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 จึงม         ี
                                                                                               ึ่
                  วัตถุประสงคเพอ พลิกโฉมประเทศไทยสู “สังคมกาวหนา เศรษฐกิจสรางมูลคาอยางยั่งยืน” ซงหมายถง
                               ื่
                                                                                                      ึ
                                         ี่
                  การสรางการเปลี่ยนแปลงทครอบคลุมตั้งแตระดับโครงสราง นโยบาย และกลไก เพื่อมุงเสริมสรางสังคม
                  ที่กาวทันพลวัตของโลก และเกื้อหนุนใหคนไทยมีโอกาสที่จะพัฒนาตนเองไดอยาง เต็มศักยภาพ พรอม
                                                                                ิ่
                  กบการยกระดับกิจกรรมการผลิตและการใหบริการใหสามารถสรางมูลคาเพมที่สูงขึ้น โดยอยูบนพนฐาน
                   ั
                                                                                                  ื้
                  ของความยั่งยืนทางสิ่งแวดลอม เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคขางตน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 จึงได 
                                                                         
                  กำหนดเปาหมายหลักของ การพัฒนาจานวน 5 ประการ ประกอบดวย
                                (1) การปรับโครงสรางภาคการผลิตและบริการสูเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม มุงยกระดบ
                                                                                                      ั
                  ขีดความสามารถในการแขงขันของภาคการผลิตและบริการสำคัญ ผานการผลักดันสงเสริมการสราง
                  มูลคาเพิ่มโดยใชนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสรางสรรค ที่ตอบโจทยพัฒนาการของสังคมยุคใหม 
                  และเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม พรอมทั้งใหความสำคัญกับการเชื่อมโยงเศรษฐกิจทองถิ่นและ
                  ผูประกอบการรายยอยกับหวงโซมูลคาของภาคการผลิตและบริการเปาหมาย รวมถึงพัฒนาระบบนิเวศท ี่
                  สงเสริมการคาการลงทุนและนวัตกรรม
                                (2) การพัฒนาคนสาหรับโลกยุคใหม มุงพัฒนาใหคนไทยมีทักษะและคุณลักษณะท   ี ่

                  เหมาะสมกับโลกยุคใหม ทั้งทักษะในดานความรู ทักษะทางพฤติกรรม และคุณลักษณะตามบรรทัดฐาน
                                                          
                  ที่ดีของสังคม และเรงรัดการเตรียมพรอมกาลังคนใหมีคุณภาพสอดคลองกับความตองการของ
                  ตลาดแรงงาน และเอื้อตอ การปรับโครงสรางเศรษฐกิจไปสูภาคการผลิตและบริการเปาหมายที่ม  ี





                                         
                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124