Page 118 - แผนการใช้ที่ดินพืชบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของประเทศไทย 2566
P. 118

3-68





                  3.4  นโยบายและยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร   


                        3.4.1 นโยบายและมาตรการของรัฐ
                            1) นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ ปงบประมาณ 2566 ประกอบดวยนโยบายท           ี ่
                  สำคัญ 15 นโยบาย โดยนโยบายที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานโครงการแผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทาง
                  ภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย  ไดแก
                                (1) นโยบายตลาดนำการผลิต
                                (2) การพัฒนาระบบโลจิสติกสดานการเกษตร

                                (3) การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม
                                (4) การบริหารจัดการน้ำอยางเปนระบบ
                                (5) การสงเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน
                                (6) การยกระดับขีดความสามารถในการแขงขัน
                             2) นโยบายการพัฒนาภาคการเกษตรในชวงที่ผานมา (กอนป พ.ศ.2566) มีรายละเอียด
                  ดังนี้

                              (1) เรงรัดการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและพัฒนาระบบโลจิสติกส
                  ทางการเกษตร เพื่อเพิ่มผลตอบแทนดานการเกษตร โดยสงเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจสำคัญใหเหมาะสม
                                                         
                              ี
                              ่
                  กับสภาพพื้นท สงเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุ จัดหาปจจัยการผลิตและโครงสรางพื้นฐานการผลิตที่ม ี
                  คุณภาพและมีความจำเปน เพื่อสรางความมั่นคงดานรายไดใหแกเกษตรกร
                              (2) ดูแลเสถียรภาพราคาสินคาเกษตรและการตลาดสินคาเกษตร
                              (3) สงเสริมการเพิ่มมูลคาสินคาเกษตร และมีการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมการเกษตร
                                                                                  ั้
                  จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกจพเศษ สนับสนุนเงินทุนพัฒนาเครื่องจักรในการแปรรูปขนตนของสินคาเกษตร
                                     ิ
                                        ิ
                              (4) สรางความมั่นคงดานอาหาร โดยสงเสริมการทำการเกษตรตามแนวพระราชดำริ ขยาย
                  กระบวนการเรียนรูและการพัฒนาเกษตรทฤษฎีใหม ตามแนวพระราชดำริ และสนับสนุนการทำเกษตร
                  อินทรีย เกษตรผสมผสาน สวนเกษตร รวมทั้งสนับสนุนความรวมมือระหวางประเทศดานความมั่นคง
                      
                  ทางดานอาหาร
                                                            ั
                              (5) เรงรัดการจัดหาแหลงน้ำใหทวถึงและเพียงพอ รวมท้งเพมประสิทธิภาพการใช
                                                            ่
                                                                                    ่
                                                                                    ิ
                                                                                 ั
                                                         ื
                  ทรัพยากรน้ำเพ่อการผลิตทางการเกษตร เพ่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแลง
                                ื
                              (6) คุมครองและรักษาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการทำเกษตรกรรมที่ไดมีการพัฒนา
                  โครงสรางพื้นฐานดานชลประทาน เพื่อเปนฐานการผลิตทางการเกษตรในระยะยาว จัดหาที่ดินทำกน
                                                                                                      ิ
                                                                                   
                                                        ิ
                                                       ี
                  ใหแกเกษตรกรยากจนในรูปของธนาคารท่ดน เรงรัดการออกเอกสารสิทธิ์ตางๆ
                       
                            3) นโยบายการพัฒนาภาคการเกษตรในอนาคต ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
                  แหงชาติ ฉบับที่ 13 (สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2565) มีรายละเอียด
                  ดังนี้
                              การพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในชวงระยะเวลาของเศรษฐกิจและสังคม
                                                                                           ื่
                  แหงชาติ ฉบับที่ 13 จำเปนตองเรงรัดผลักดันการปรับโครงสรางเศรษฐกิจภาคการผลิตเพอเปลี่ยนผานสู
                                                                                                      
                                                                                         ุ
                                                                                            
                                                                                                  
                  การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยนวัตกรรมและมงสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ที่เนนการสรางคณคาใหแกสินคา
                                                       ุ
                  และบริการเชิงคุณภาพ พรอมทั้งใหความสำคัญกับการกระจายผลประโยชนสูภาคสวนที่เกี่ยวของ
                  ภายในประเทศอยางทั่วถึงและเปนรูปธรรม โดยถายทอดแนวคิดในการพลิกโฉมประเทศสูนโยบายและ


                  แผนการใชที่ดินพืชบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) ของประเทศไทย           กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
                                         
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123